การผลิตสื่อการเรียนการเรียนการสอนภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

Authors

  • วิภาวดี ทวี

Keywords:

Instructional Media Production, Method Teaching, Chinese Language, Chinese Alphabets

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค สร้างสื่อการเรียนการสอนภาษาจีน ในรายวิชาการศึกษาตัวอักษรจีน และวิวัฒนาการตัวอักษรจีน ศึกษาผลของการใช้สื่อการเรียนการสอน ภาษาจีน เพื่อช่วยในการเรียนในรายวิชาการศึกษาตัวอักษรจีนและวิวัฒนาการ ตัวอักษรจีน โดยกลุ่มเป้าหมาย ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ คือ นักศึ ปีที่ 1 หมู่เรียน 57107301 และหมู่เรียน 57107302 สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่เรียน ในรายวิชาการศึกษาตัวอักษรจีนและวิวัฒนาการตัวอักษรจีน ภาคเรียนท 2 ปีการศึกษา 2557 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ( Purposive sampling จำนวน 40 คน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึก ข้อมูลพื้นฐาน ศึกษาเอกสาร ต ำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การสร้ การเรียนการสอนภาษาจีน โดยใช้เนื้อหาหนังสือในรายวิชาการศึกษาตัว อักษรจีนและวิวัฒนาการตัวอักษรจีน จำนวน 693 ตัว รวบรวมเป็นลำดับ ขีดการเขียนตัวอักษรจีนในแต่ละบทเรียน จำนวน 20 บท 3) การตรวจสอบ คุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบคุณภาพสื่อ 4) ปรับปรุงสื่อ (ก่อนนำผลการตรวจสอบคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญและข้อเสนอแนะมาปรับปรุ สื่อก่อนนำไปใช้ 5) การทดลองใช้สื่อ ทดลองการใช้สื่อการเรียนการสอ ภาษาจีนกับกลุ่มเป้าหมาย 6) การปรับปรุงสื่อ (หลังใช้) ประเมินผลการใช้ จากข้อเสนอแนะ 7) นำสื่อไปใช้ ทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนำผลวิเคราะห์ 8) ประเมินผล วิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลเกี่ยวกับความคิดและข้อเสนอแนะ และประมวลผลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการสื่อการเรียนการสอนภาษาจีน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษพบว่านักศึกษา มีทักษะการเรียนเพิ่มมากขึ้นหลังจากใช้สื่อ ค่าเฉลีค่า S.D = 0.82 และมีความพึงพอใจต่อการใช้สื่ออยู่ในระดับพอใจมากค่าเฉลี่ย = 4.20 ค่า S.D= 0.83 ซึ่งผู้เรียนมีความพึงพอใจในสื่อที่ใหใช้ เนื่องจากประหยัดเวลาในการค้นหาลำดับขีดในการเขียนตัวอักษรจอีกทั้งลายมือมีความสวยงาม เพราะเขียนได้ถูกต้องตามหลักการเขียน แลมีทักษะในการเขียนเพิ่มขึ้น

The purpose of this research was to design an instruc-tional Media in Teaching Chinese as foreign language to a course of Chinese Alphabets and the Evolution of Chinese Alphabets. The samples were 40 first-year students studying in Sec-tion 57107302 in the faculty of Humanities and Social Sciences, Chinese major, Sisaket Rajabhat University, enrolling in the second semester of the academic year 2013, The participants were selected by purposive sampling method. The procedures of this study have 8 steps as follows: The first step is to study the data and the related re-search. The second step is to design the instructional media in teaching Chinese by selecting 693 Chinese alphabets from 20 chapters in a Chinese book. The third step is to evaluate the effectiveness of the instructional media by the experts. The fourth step is to check and improvement the effec-tiveness of the instructional media before using. The fifth step is to try out the instrument to the samples. The sixth step is to evaluate the effectiveness of the instructional media after using. The seventh step is to teach by using the instructional media via teaching Chinese to the samples. The results were analyzed statistically in the form of t-test, mean and standard deviation. The findings of the study indicated that the effectiveness of the students skill was significantly higher than that of before teaching by using the instructional media at the level as follows: meanx̄= 4.20, S.D.=0.82. The students were satisfied with using the instructional media as highly at high level as follows: meanx̄= 4.20, S.D.=0.83. The students were satisfied with the use of the instruc-tional media because it didn’t take much time to write Chinese alphabets and they also had increased their writing skill as well.

References

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2523. ระบบสื่อการสอนในเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตปรแห่งะเทศไทย.

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. สื่อการสอน: http://reg.ksu.ac.th/teacher/sudatip/ Elearning files/MA.HTML ) เรียนภาษาจีนออนไลน์กับพี่จิ๋ว. วิธีเขียนตัวอักษรจีน: http://www.jiewfudao.com/ index.php?lay= show&ac=arti cle&Id=538714125 &Ntype=16)

ศุภชัย แจ้งใจ. 2552. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนภาษาจีนของผู้เรีย สาขาวิเทศธุรกิจจีนและสาขาจีนศึกษา คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. บทคัดย่อ

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2544)จิตวิทยาการศึกษา.. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อรอนงค์ รักจันทร์ และ จินตหรา สุวรรณเทน. 2554.

การศึกษาวิเคราะห์ตัวอักษรจีนที่ใช้ตัวอักษรเป็น ตัวประกอบ. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

Edgar Dale, 1969, Audiovisual method in teaching. New York: the Dryden Press.

Klein, S.B. 1991. Learning. New York : McGraw –Hill.

Li Yang. 2554. การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนตัวอักษรจีนสำหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์. สาขาหลักสูตรและก นิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Li Dasui. 2004. An Overview of TCSOL Development and Studues. Thesis, Peking University.

Shores, Louis. (1960).Instructtional Materials. New York : The Ronald Press Company.

Zhao Qian. 2009.Study of Teaching Chinese Character to Foreigners. Thesis, Dalian University of Technology.

Zhoujian. Hanzi, 2009, The Chinese Characters. Shanghai:Shanghai Foreing Language Education Prees,

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

ทวี ว. (2022). การผลิตสื่อการเรียนการเรียนการสอนภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(1), 64–75. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/513