ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2557
Keywords:
SatisfactionAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนัก ที่มีต่อหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2557 ของคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษนำข้อมูลที่ได้มาและน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได นักศึกษาที่ศึกษาในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ระดับชั้นปีที่ 1-4 ทําการศึกษาตั้งแต่ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 และภาคเรียนที่ การศึกษา 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 62) รองลงมา คือ เพศชาย (ร้อยละ 38) ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุอยู่ระหว่าง 20-30 ปี (ร้อยละ 100) และ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในระดับชั้นปีที (ร้อยละ 40) รองลงมาคือ ระดับชั้นปีที่ 1และ 3 (ร้อยละ 22) และระดับ ชั้นปีที่ 4 (ร้อยละ 16) จากการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ในด้านต่างๆ พบว่าความพึงพอใจของนักศึกษาที่ ต่อหลักสูตรนิเทศศาสตรในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.58 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.88 ) และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อหลักส นิเทศศาสตร์ พบว่าด้านอาจารย์ผู้สอนเป็นอันดับที่ 1 ด้านการเรียนร หลักสูตรได้พัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน เป็นอันดับที่ 2 ด้านหลัก อันดับที่ 3 และด้านสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เป็นอันดับสุดท้าย โดยพบว่า ความพึงพอใจ อันดับแรกด้านอาจารย์ผู้สอน คือ (1) การเปิดโอกาส ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม (2) อาจารย์ให้ค คำปรึกษาด้านวิชาการแ การพัฒนานักศึกษาได้อย่างเหมาะสม และ (3) อาจารย์มีคุณวุฒิ และ ประสบการณ์เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน ด้านการเรียนรู้ตลอดหลักสูตร พัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน คือ (1) เป็นบัณฑิตจิตสาธารณะ ที่มีคุ จริยธรรม และความรับผิดชอบในการทำงาน ตลอดจนยึดมั่นจรรยาบรรณในวิชาชีพ (2) หลักสูตรช่วยพัฒนาผู้เรียนตามลักษณะความต้องการในก เรียนรู้ และ (3) มีความรู้ในทฤษฎี หลักการทาง นิเทศศาสตร์ และข่าวส ข้อมูล สามารถวิเคราะห์ เข้าใจวิธีการประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม ด้านหลักสูตร คือ (1) การจัดการศึกษาสอดคล้องกับปรัชญา และวัตถุประสงค ของหลักสูตร (2) มีการจัดแผนการศึกษาตลอดหลักสูตรอย่างชัดเจน และมีปฏิทินการศึกษาและโปรแกรมการศึกษาแต่ละภาคอย่างชัดเจน ด้าน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ คือ (1) เอกสารประกอบการเรียนการสอน (2) ระบบสารสนเทศเอื้อต่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และํานวย(3)สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ
References
จินตนา ตันสุวรรณนนท์, เกษม จันวดีและธีระยุทธ ลาตีฟี. (2544).การประเมินผลสัมฤทธิ์หลักสูตรวรสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิตและแนวโน้ม ความต้องการของตลาดแรงงาน. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.กรุงเทพฯ.
สุนันทา แก้วสุข. ๒๕๔๕. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต อการปฏิบ งานของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฎธนบุรี. รายงานการ วิจัย. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎธนบุรี,
ยศวีร์ อิ่มอโนทัย, เทวธิดา ขันคามโภชก์, สุรพล เหลี่ยมสูงเนิน, พรรณ โรจน์วิชชา, ไพโรจน์ พิทักษ์ทรายทอง, วิระวรรณ ฉันทะกูล, วศิมน เบ็ญจพันธุ์ทวี, วณิชยา ศีลบุตร และนฤมล โลภา รัตนกุล. (2547). คุณลักษณะของบัณฑิตสาขาเศรษฐศาสตร์ ตามความต้องการของตลาดแรงงาน. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. กรุงเทพฯ
วิชัย ดิสสระ. (2535). การพัฒนาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ :สวีวิยาสาส์น.
Good, Carter V. 1973. Dictionary of Education. (3rd. ed.) New York : McGrawHill.
Oliver P. F. 1982. Developing the curriculum , Boston : Little,Brown and Company.
Stufflebeam, Daniel L., et al. (1971).Educational Evaluation and Decision Marking, Illinois :PeacockPublisher Inc.
Taba, Hilda. Curriculum Development1962. Theory and Practice. New York : Harcourt,Brace and world Inc.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.