ความต้องการพัฒนาฐานข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ

Authors

  • พัณณิตา นันทะกาล

Keywords:

Archive, Database

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของจัดการเอกสารจดหมายเหตุและความต้องการพัฒนาฐานข้อมูลเอกสาร จดหมายเหตุ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ จำนวนผู้บริหารจ5คนหัวหน้า สำนักงาน 1 คน คณาจารย์ จำนวน 37 คน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบสอบถาม ผลวิจัยนำเสนอ 2 ส่วน ประกอบด้วย สภาพปัจจุบันในการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ ผลการวิจัย พบว่า 1) การผลิตเอกสารจดหมายเหตุ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการผลิตเอกสารจดหมายเหตุครอบคลุมทุกประเภท โดยผลิตเพื่อการ ดำเนินงานและการเรียนการสอน 2) การจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุโดยการเก็บ รวบรวมไว้ที่สำนักงานคณบดี กลุ่มงาน และสาขาวิชา 3) การใช้ประโยชน์ และเผยแพร่เอกสารจดหมายเหตุ เผยแพร่และใช้ประโยชน์เอกสาร จดหมายเหตุจากเว็บไซต์ของคณะฯ และสื่อสังคมออนไลน์ ความต้องการพัฒนาฐานข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุ ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านเอกสารจดหมายเหตุที่ควรจัดเก็บในฐานข้อมูล พบความจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมา ความสำคัญ ตลอดจนกดำเนินงานและการเรียนการสอน 2) บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ ต้องการให้แต่งตั้งคณะกรรมการที่ดูแลฐานข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุโดยเฉพาะและเป็นผู้ทำหน้า ี่ในการบันทึกข้อมูลทั้งหมด 3) การใช้ประโยชน์และการเผยแพร่ ต้องการให้ก ำหนดนโยบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารจดหมายเหตุระบุคคลภายในและภายนอกให้ชัดเจน

This study aims to investigate the current practice of Archive management and the needs for Archive development, faculty of Humanities and Social Sciences, Sisaket Rajabhat University. The samples included 5 Administrative Board members, a head of faculty office, 37 university lecturers and 5 university officials. The survey was conducted by using the constructed interview and questionnaires. The result was presented into two areas as follows: (1) the current practice of Archive management was summarized in three aspects; a) producing: all types of Achieve have been constantly produced by the faculty of Humanities and Social Sciences in order to be one of the education approaches, b) storing Archive: all types of Archives were separately stored at the faculty office and teacher’s office, and c) utilizing and pub-lishing: Archives have been utilized and published on faculty website and social network. The need for Archive database development was categorized into three perspectives; a) important, signifcant Archive documents should be stored in database documents concerning to history, importance as well as procedure in learn-ing and teaching b) it is agreed to set up the special committees to be in charge of Archive database management, and c) the policy in terms of the accessibility should be clearly determined, particularly between non-university and university officials of Sisaket Rajabhat university.

References

กรมศิลปากร. (2542). วิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ.กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

กาญจนา สุคนธมณี. (2541). จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศิลปากร บรรณสาร มศก.ท., 13(2), 7-13.

เกษม วัฒนชัย. (2539). ปริทัศน์หอจดหมายเหตุ.จุลสารหอจดหมายเหตุ ธรรมศาสตร์, 1, 4-6.

บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกุล. (2542). ระบบฐานข้อมูล.ขอนแก่น : ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ และฐิติมา ธรรมบ ำรุง. (2550). เริ่มต้นกับเมทาดาทา.ค้นเมื่อ 20 กันยายน 2553, จากhttp://library.stks.or.th:8080/dspace /bit stream/123456789/838/1/DC-HTML.pdf.

พัชรี พันดาวงษ์. (2536). การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บ และ ค้นคืนวัสดุจดหมายเหตุของโครงการจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วารสารบรรณารักษศาสตร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 13(2), 12-38.

สมทรวง พฤติกุล. (2554). ความเป็นมาของสถาบันและวิชาชีพ จดหมายเหตุ. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 4(3), 67-77.

สิทธิไชย บวชไธสง. (2557). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลดิจิทัล

จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.วารสารการอาชีวะ และเทคนิคศึกษา. 4(7), 67-75.

สุชาดา สุรางค์กุล. (2553). แนวทางการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ ในสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษาศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2547). หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2558, จาก http://archives.psd.ku.ac.th/.

อาภากร ธาตุโลหะ. (2554). ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการ ค้นคว้า.พิมพ์ครั้งที่ 2. ชลบุรี: โฮโกะเพลส.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). ระบบฐานข้อมูล.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเครชั่น

Crow, Raym. (2002). The Case for Institutional Repositories: A SPARC Position Paper. Washington, DC, : SPARC

Westell, Mary. (2006). Institutional Repositories: proposedindicators of success.Library Hi Tech. 24(2), 211-226.

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

นันทะกาล พ. . (2022). ความต้องการพัฒนาฐานข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(1), 112–126. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/542