เรียนที่มีระดับความรู้พื้นฐานต่างกันโดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า

Authors

  • ยุพิน ประทุมมี
  • สุทธิดา พันธุ์โคตร

Abstract

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางก ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นระหว่างผู้เรียนที่มีระดับความรู้พื้นฐานต่างก ช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ค มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขา ภาษาญี่ปุ่น ชั้นปีที่ 2 จำนวน 38 คน ที่เรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้ เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีดังนี้ จัดการเรียนรู้ด้านทักษะไวยากรณ์วิชาภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สิ่งช่วยจั ล่วงหน้า มีทั้งหมด 6 แผน 18 คาบ และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทางด้านไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น ระดับเบื้องต้น จจำนวน 40 ข้อ การวิจัย เป็นการศึกษาโดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ใช้ ค่าสถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษากลุ่มที่มีพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 77.50 และมีจำนวนนักศึกษาท ผ่านเกณฑ์ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 88.24 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ของคะแนนและ จำนวนนักศึกษาที่กำหนดคือร้อยละ 70 อีกทั้ง นักศึกษากลุ่มที่ไม่มีพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 74.29 และ จำนวนนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ซึ่งสูงกว่าเ ของคะแนนและจำนวนนักศึกษาที่กำหนดคือร้อยละ 70 ดังนั้นจึงอาจกล่าว ได้ว่า การจัดการเรียนสอนโดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้ามีประสิทธไม่มากก็น้อยส ำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นที่มีพื้นฐานแตกต่างกัน ได้จากผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมีความรู้ความเข้าใจทางด้านไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นอยู่ในเกณฑ์ระดับดี

This research aims to study Japanese language Learning Achievement with learners of different background knowledge learners through Advance Organizer. The sample included 38 students; a group of 2nd Japanese students in faculty of Hu-manities and Social Sciences, Sisaket Rajabhat University. All of the students studied Basic Japanese first in semester1 of 2015 academic year Experimental tools consisted of a) 6 Japanese learning plan approaches with Advance Organizer during 18 periods, and b) Japanese structure learning practice, 40 items. The data analysis of this research using Mean, Standard deviation (SD), and percentage. The result was presented into two areas as follows: (1) the percentage of learning achievement among students with Japanese background reached 77.50 with 15 students that passed the criteria. This shows the total percentage at 88.24 which is higher than normal standard (70%). (2) the percentage of learning achievement among students with non-Japanese background reached 74.29 with 15 students that passed the criteria. This shows the total percentage at 71.43 which is higher than normal standard (70%). In conclusion, using the Advance Organizer in Japanese learning has efficient outcome, particularly among those students with different backgrounds. This result also noted that both groups of students have a good compre-hension to the fundamental of Japanese structure.

References

จันทร์แรม สุวรรณไตรย์. (2532). การเปรียบเทียบวิธีสอนโดยใช้สิ่งช่ จัดมโนมติล่วงหน้ากับการสอนตามปกติในวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ม บัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ.(2548).สภาพการศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศต่างๆ ทั่วโลก.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 5(1), 92.

องอาจ ประจันตเสน. (2547). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นเสียง ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามรูปแบบการสอนโดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อัจฉรา อึ้งตระกูล (2553) ปัญหาการศึกษาภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอก ของมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ.

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

ประทุมมี ย. ., & พันธุ์โคตร ส. . (2022). เรียนที่มีระดับความรู้พื้นฐานต่างกันโดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(1), 128–142. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/544