สานตำนานเมืองนครศรีลำดวน : กรณีศึกษาพระแก้วเนรมิต

Authors

  • ธรงวิทย์ ทองเสี่ยน

Keywords:

Phra Kaew Nimit

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ในรูปแบบสำรวจ (Survey Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติอำเภอขุขันธ์ และเพื่อศึกษาประวัติวัดลำภู เพื่อทราบถึงความเชื่อของคนในชุมชนที่มีต่อองค์พระแก้วเนรมิตได้อย่างถูกต้อง โดยจำแนกตามเพศ และวุฒิการศึกษา ประชากรในงานวิจัยนี้ เป็นชาวบ้านในตำบลใจดี อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้จากการกำหนดกลุ่มตัวอย่าง มาจำนวน 100 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองได้ข้อมูลกลับมาทั้ง 100 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที(t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) และเมื่อพบความแตกต่างจึงนำคะแนนมาวิเคราะห์รายคู่ ตามแบบของเชฟเฟ่ (Scheffe ̓s Post hoc Comparison) ผลการวิจัยพบว่า 1. ชาวบ้านมีระดับความคิดเห็นของชาวบ้านที่มีต่อความเชื่อในเรื่องอำนาจลี้ลับ เรื่องอดีต เรื่องกรรม เรื่องไสยศาสตร์ และเรื่องเวทย์มนต์ที่มีต่อประวัติอำเภอขุขันธ์ ประวัติวัดลำภู และความเชื่อที่มีต่อองค์พระแก้วเนรมิต โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของชาวบ้านที่มีต่อความเชื่อในเรื่องอำนาจลี้ลับ เรื่องอดีต เรื่องกรรม เรื่องไสยศาสตร์ และเรื่องเวทย์มนต์ประวัติอำเภอขุขันธ์ ประวัติวัดลำภู และความเชื่อที่มีต่อองค์พระแก้วเนรมิต โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน

This research is a qualitative research (Survey Research) with the purpose of studying the history of Khukhan. And to study the history of Lam Phu. To know the beliefs of the people in the community to create a glass. By gender And education. The population in this study. A villager in Amphoe Khukhan, Si Sa Ket. 100 samples were used for the study. The data were 100 questionnaires. The data were analyzed by using the program. The statistics used were percentage, mean, standard deviation One-way analysis of variance (t-test) and one-way analysis of variance (VAR). Scheffe's Post hoc Comparison The research found that: 1. Villagers have the level of opinion of the villagers on the belief in the power of mystery about the past. Karma on superstition. And magic about the history of Khukhan. History of Lam Phu And the belief on the glass god creation. The results and comparison of the opinions of the villagers on the belief in the power of mystery about the past of Karma on superstition. And the magic story of Khukhan. History of Lam Phu And the belief on the glass god creation. The overall picture is not different.

References

ชื่น ศรีสวัสดิ์. (2537). ศักยภาพและเครือข่ายผู้นำท้องถิ่น คู่มือและทิศทางการพัฒนาผู้นำชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาในชนบท. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ

ธวัช ปุณโณทก. (2533). วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นเชิงเปรียบเทียบ. (พิมพ์ครั้งที่ 2.) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธีระพงษ์ ทศวัฒน์. (มปป.). ระบบความเชื่อเรื่องปรางค์กู่ กรณีศึกษา บ้านปรางค์กู่ ตําบลมะอึ อําเภอธวัชบุุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนา คณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2559,ออนไลน์). มานุษยวิทยากับการศึกษาพฤติกรรมข้ามเพศและรักเพศเดียวกัน.

น้ำมนต์ อยู่อินทร์. (2554). การดำรงอยู่ของความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวในสังคมไทยปัจจุบัน: กรณีศึกษาหมู่บ้านดอนโพธิ์ ตำบลชายนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย

บุญลือ วันทายนต์. (2529). สังคมวิทยาศาสนา. กรุงเทพฯ : กิ่งจันทร์การพิมพ์

บุญเลิศ สดสุชาติ. (2525). คติความเชื่อของชาวอีสาน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.

พวงทิพย์ เกิดทรัพย์. (2540). การคงอยู่และเปลี่ยนแปลงพิธีศพของชาวจีนที่วัดหัวลำโพงในกรุงเทพมหานคร. ปริญญามานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระปลัดวิทยา สิริภทฺโท. (2553). ศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมการบูชาพระธาตุของชาวพุทธ : กรณีศึกษาพระธาตุหล้าหนองของประชาชน จังหวัดหนองคาย. ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และคณะ. (2555). การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง

โยธิน มาหา. (2546). การศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักพุทธจริยธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมของอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพประเภทนวนิยายอิงหลักธรรม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร์ (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิญญู ผลสวัสดี. (2537). พิธีกรรมการเลี้ยงผีบรรพบุรุษของชาวผู้ไทยตำบลคำชะอี อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร. ปริญญานิพนธ์ วิชาเอกไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2540). แอ่งอารยธรรมอีสาน: แฉหลักฐานโบราณคดีพลิกโฉมหน้าประวัติศาสตร์ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3), กรุงเทพฯ : มติชน

สมจริง ทองด้วง. (2546). การศึกษาเชิงพุทธจริยศาสตร์เรื่อง ความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและการทำนาข้าว ในจังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร์ (จริยศาสตร์ศึกษา)มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุพรรณ เผือกพันธ์. (2543). การศึกษาความเชื่อเรื่องผีปอบในบริบทสังคมไทยพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านหนองทามน้อย จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. อักษรศาสตร์ (ศาสนาเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุริยา สมุทคุปติ์, (2533). บุญผเวสของชาวอีสาน : การวิเคราะห์และตีความหมายทางมานุษยวิทยา. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Downloads

Published

27-11-2022

How to Cite

ทองเสี่ยน ธ. . (2022). สานตำนานเมืองนครศรีลำดวน : กรณีศึกษาพระแก้วเนรมิต . Journal of Human and Society, Sisaket Rajabhat University, 1(2), 74–84. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/549