แนวทางการสร้างแรงจูงใจและความคาดหวังของนักศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Keywords:
Motivation, Expectations, Students, CommunityAbstract
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจและความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชมชน 2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างแรงจูงใจและความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน การวิจัยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการสัมภาษณ์แบบปลายเปิดผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ 100 ราย สนทนากลุ่ม 15 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักตรรกะเทียบเคียงกับแนวคิด ทฤษฎีควบคู่กับบริบท และใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบ ผลการศึกษาพบว่า 1) แรงจูงใจและความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชมชน.สามารถแบ่งความหมายออกเป็น 5 ด้าน คือ (1) แรงจูงใจด้านการพัฒนาตนเอง/พัฒนาความรู้ (2) แรงจูงใจด้านชุมชน (3) แรงจูงใจจาการเห็นแบบอย่างของผู้นำชุมชนที่ดี (4) แรงจูงใจด้านครอบครัว/สังคม (5) แรงจูงใจด้านอื่นๆ และความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ (1) ด้านความรู้ (2) ด้านการพัฒนาชุมชน (3) ด้านอาชีพ/ครอบ (4) ด้านสังคม 2) แนวทางในการสร้างแรงจูงใจและความความหวังในการเรียนสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน สามารถแยกเป็น 4 ประเด็น ได้แก่ (1) การพัฒนาตนเอง (2)ความสัมพันธ์ (3) การพัฒนาชุมชน/สังคม (4) ครอบครัว
The Four major objectives of the study were 1) to study the motivations and expectations of the students 2) to study the motivation and expectations on student academic disciplines. Community development Research used qualitative research process. With an emphasis on in-depth interviews with key informants, focus group 100. 15 Data were analyzed using logic similar to the concept coupled with theoretical context and descriptive statistics operator. The findings were summed up as follows: 1) the motivations and expectations of the students 2) the problems and obstacles to students' academic development and 3) the motivation and expectations on student academic disciplines 4) motivations from family and social 5) other motivations. The expectations were found as follows: 1) knowledge 2) community development 3) career/family 4) social 2) Guidelines for building motivations and expectations to study in community development can be separated into four issues: (1) Self - development (2) Relationship (3) Community Development / Social (4) family.
References
ทิพย์สุดา จงใจ. 2541. การศึกษาปัญหาในการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นในวิทยาลัยสารพัดช่าง สาขาชุมชนเมืองใหม่บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทัศนีย์ ชาติไทย. 2555. แรงจูงใจและความต้องการในการศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. รายงานการวิจัยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน. 2559. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ระดับปริญญาตรี. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559.
อภิฤดี ภู่รอด. 2557. การศึกษาบทบาทของผู้บริหารและแนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.