ผู้นำสตรีกับการจัดการความขัดแย้งในชุมชนแถบลุ่มน้ำโขงตอนล่าง
Keywords:
Women, Community conflict,, Human rights and women's rights, Lower Mekong BasinAbstract
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผู้นำสตรีกับการลดความขัดแย้งในชุมชนแถบลุ่มน้ำโขง เพื่อวิเคราะห์เกี่ยวกับสิทธิสตรีในการเป็นผู้นำชุมชนสตรีมีส่วนร่วมลดความขัดแย้งในชุมชนอย่างไรบ้างในแถบลุ่มลำน้ำโขงตอนล่าง โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพจากผู้นำสตรีในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนราชอาณาจักรไทยในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ราชอาณาจักรกัมพูชาในพื้นที่จังหวัดเสียมเรียบ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในจังหวัดจำปาสัก ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ทราบการได้มาถึงสิทธิสตรีในการเป็นผู้นำชุมชนแล้วนำไปสู่ในการลดความขัดแย้งในชุมชน สร้างให้ชุมชนมีความสงบสุขสร้างสันติสุขในสังคมอย่างยั่งยืนในอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง ศึกษาคุณลักษณะสตรีที่เป็นผู้นำชุมชนในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงใต้ตอนล่าง ค้นหาแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสตรีเพื่อลดความขัดแย้งในชุมชนสร้างสันติสุขในสังคมโดยรวม
The purpose of this study was to study women leaders and conflict reduction in the communities of the Lower Mekong Basin to analyze the rights of women as leaders of communities and how they participated in conflict reduction in the community of the Lower Mekong Basin. The researcher used quality research process from women leaders in both government and private organizations in Surin Province, the Kingdom of Thailand; Siam Reap Province, the Kingdom of Cambodia; and Champasak Province, the Lao People's Democratic Republic. The result of this study revealed how to acquire women's rights in community leadership which led to conflict reduction in communities in order to create a sustainable peace in the area of Mekong Basin. Also, it was to study characteristics of women who were community leaders in the lower southeastern communities to find guidelines and policy recommendations on women to reduce conflict in the community and to create peace in society as a whole.
References
เสน่ห์ จามาริก. (2545). พุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานมนุษยชนแห่งชาติ.
มาลี พฤกษ์พงศาลี. (2550). สิทธิความเป็นคนของผู้หญิง. กรุงเทพฯ: บริษัทสหมิตรพริ๊นติ้งแอนด์พับลิช.
นัทธินัย ประสานนาม. (2553). แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชนชั้นวรรณกรรมกับมนุษยชนศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร.
พิมพ์พัณธุ์ หาญสกุล. (2554). ธัมมนันทา บนเส้นทางภิกษุณีโพธิสัตว์. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์อมรินทร์ธรรมะ.บริธการพิมพ์จำกัด.
วรเชษฎฐ์ หน่อคำ. (2544). ได้ศึกษาเรื่องผู้นำท้องถิ่นกับการจัดการความขัดแย้งในชุมชนชนบท. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศุภกร อิ่มวัฒนกุล.(2553). กรณีสาเหตุความขัดแย้งในองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัญฑิต, สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
รัชดา ธราภาค. (2555). ราชอาณาจักรกัมพูชา. กรุงเทพฯ: บริษัทสถาพรบุคส์จำกัด.
สุรพล อุ่นแสงดี. (2555). กระบวนการขัดเกลาทางสังคมเพื่อสันติสุขกลุ่มชาติ พันธ์ไทย-เขมร โดยเครือเทคโน.
อาคิน ระพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย.กรุงเทพฯ:บริษัทโอ.เอสพริ๊นติ๊งเฮาส์ จำกัด.
อัจฉรา ภาณุรัตน์. (2556).บทความวิชาการเกี่ยวกับประเด็นเขาพระวิหาร. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
---------------------. (2556).ภูมิปัญญาและชาติพันธ์วรรณา. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
อัจฉรา ภาณุรัตน์. (2556).พระ-หมอ-ครู.กลไกทางวัฒนธรรมเพื่อความสันติภาพ ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.อัจฉรา ลิ้มวงษ์ทอง. (2557). การบริหารความขัดแย้งในองค์การ. สำนักพิมพ์ บุ๊คส์ ทู ยู. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.
Geetz,C.(1973). The InterpertationofCuture. New York :Bacic Book
Levinson. ( 1931) D.J Role. Personality and social structure in the organization setting : Selected reading and projects in the social psychology . New yorkRandom House.http://www.voathai.com/a/cambodian-women-tk/2668422.html 2560: 5. 20
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.