พระราชดำรัสและพรพระราชทานของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ.2498
Keywords:
His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great, royal speech, blessing, Si Sa Ket provinceAbstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพระราชดำรัสและพรพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2498 จากการศึกษาพบว่าพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมต่อพสกนิกรชาวจังหวัดศรีสะเกษ พระราชดำรัสและพรพระราชทานแก่พสกนิกรในครั้งนั้นที่ว่า “ต่อแต่นี้ไป ขอให้ความแร้นแค้นจงสูญสลายจากไปจนหมดสิ้น” ไม่เพียงเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับอดีตของจังหวัดศรีสะเกษในสมัยเริ่มต้นก้าวสู่ยุคพัฒนา หากยังสะท้อนถึง พระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย ด้วยเป็นแนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาท้องถิ่นและพัฒนาคุณภาพของประชาชน ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศชาติให้ก้าวหน้าและยั่งยืน
The purposes of this study were to The Royal Speech and Blessing of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX) Inscribed in the History of Si Sa Ket People B.E. 2498. The result revealed that His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX) kindly gave His Majesty’s boundless and gracious kindness to Si Sa Ket people. The royal speech is “From Now on, Poverty Will Be Forever Gone” and blessing have given at that time were not only considered as the historical evidence on the history of Si Sa Ket province in the beginning period of development but it also reflected His Majesty’s boundless and gracious kindness given to Thai people. This royal speech involved with local development and quality development of Thai people that were considered as human resources that were important to develop Thailand in progressing and sustainable.
References
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. (2550ก). ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2493 – 2512. กรุงเทพฯ: บริษัทเกรย์แมทเทอร์ จำกัด.
____. (2550ข). ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2513 – 2514. กรุงเทพฯ: บริษัทเกรย์แมทเทอร์ จำกัด.
____. (2550ค). ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2517 – 2519. กรุงเทพฯ: บริษัทเกรย์แมทเทอร์ จำกัด.
เกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (2542). ทำเป็นธรรม. กรุงเทพฯ : มูลนิธิกตเวทินในพระบรมราชูปถัมภ์.
ชนิตา ชิตบัณฑิตย์. (2550). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2548). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. นิติรัฐ.
ธันยพงศ์ สารรัตน์. (2561). การเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และการพัฒนาเมืองศรีสะเกษ ระหว่าง พ.ศ.2498 – 2530. ใน เอกสารรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1 “พลังวัฒนธรรมกับการจัดการชุมชนสู่ความยั่งยืน” วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2561 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. ศรีสะเกษ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. หน้าที่ 89 – 106.
ปราการ กลิ่นฟุ้ง (2551). การเสด็จพระราชดำเนินท้องที่ต่างจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ. 2493 – 2530. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ปิยนาถ บุนนาค; และคณะ. (2554). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระอัจฉริยภาพในการบริหารจัดการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฟรานซิส คริปส์ (2551). สภาพอีสาน. แปลโดย “ตุลจันทร์’’.กรุงเทพฯ : แม่คำผาง.
ภราดร ศรีปัญญา; และคนอื่นๆ. (2558ก). ศรีสะเกษ จังหวัดของเรา : ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. อุบลราชธานี : ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป
____. (2558ข). ศรีสะเกษ จังหวัดของเรา 2: ภูมิศาสตร์ การคมนาคมและสิ่งแวดล้อม. อุบลราชธานี: ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2554). พระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีต่พสกนิกรชาวจังหวัดศรีสะเกษ.อุบลราชธานี: ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
มาลัยอักษรา ธวัช สุระบาล ผู้ว่าฯ ติดดิน. (2561). กรุงเทพฯ : มปท..
วสิษฐ เดชกุญชร, บรรณาธิการ. (2549). 29 ราชันย์. กรุงเทพฯ : มติชน.
วุฒิชัย มูลศิลป์ (2540). การศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ออดหลอดซอดศรีสะเกษ. (2561). กรุงเทพฯ : มปท..
อุทัยทิศ บุญชู. (2536). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอีสานจากนโยบายของรัฐบาลระหว่างปี พ.ศ.2434 – 2475. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
เอเจียน แอมนิเย. (2547). บันทึกการเดินทางในลาวภาคหนึ่ง พ.ศ. 2438. แปลโดย ทองสมุทร โดเร; และสมหมาย เปรมจิตต์. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภาพพันเรื่องเมืองศรีสะเกษ. (2561). กรุงเทพฯ : มปท.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.