การศึกษาเปรียบเทียบการออกเสียง ความหมาย และชนิดของคำอักษรพ้องรูป “多音字” ในภาษาจีน”
Keywords:
Homographs in Chinese, pronunciation, pattern of meaning, parts of speechAbstract
บทความวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบการออกเสียง ความหมาย และชนิดของ คำอักษรพ้องรูป “多音字” ในภาษาจีน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกเสียง รูปแบบทางความหมายและชนิดของคำอักษรพ้องรูปในภาษาจีนโดยรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจากพจนานุกรมภาษาไทย-จีน จำนวน 564 คำมาวิเคราะห์ พบว่า ส่วนใหญ่ มีคำอักษรพ้องรูปอ่านได้ 2 เสียงมากที่สุด จำนวน 454 คำ คิดเป็นร้อยละ 80.50 คำและคำอักษรพ้องรูปอ่านได้ 6 เสียงน้อยที่สุด จำนวน 1 คำ คิดเป็นร้อยละ 0.18 คำ คำอักษรพ้องรูปมีการอ่านออกเสียงได้หลายเสียงทำให้รูปแบบทางความหมายและชนิดของคำเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผลการวิจัยนี้สามารถเพิ่มความเข้าใจและลดความสับสนในการใช้คำอักษรพ้องรูปในภาษาจีน และเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาระบบคำในภาษาจีนในอนาคตต่อไป
The purpose of studying of comparison of pronunciation, meaning and parts of speech of homonyms “多音字” in Chinese is to find the pattern of pronounciation, meaning, and the parts of speech of homonyms in Chinese. The research analyzed 564 words in Thai-Chinese dictionary and founded that most of homonyms could be pronounced in two tones of Chinese over 454 words which accounted for 80.50% of words while the least was founded to be six tones which had only one word and constituted 0.18% of words. Homonyms could pronounce in many tones which lead to a mismatch in meaning and parts of speech from the origin. The result of this study will enhance more understanding and reduce the confusion of using Chinese homonyms words. In addition, it could be a data for the future studying of systematic Chinese words.
References
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2558). พจนานุกรมจีน-ไทย 现代汉语词典. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
黄伯荣 廖序东.(2011).现代汉语(增订五版)(上下册).北京:高等教育 出版社.
黄长泉.(2002)关于多音字教学的思考.深圳教育学院学报(综合版).
廖映红.(2018).多角度分析汉语多音字.湖南工业职业技术学院学报.(03):77-80.
林卫红.(2016).例谈多音字的教学方法.辽宁教育.
王海芩.(2015).多音字教学策略.课程教材教学研究.
张洁.(2014).新HSK六级词汇大纲中的多音字分析及教学.华西语文学刊.
中国社会科学语言研究所词典.(2016).现代汉语词典(第七版.北京: 商务印书馆.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.