การส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย ของเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
คำสำคัญ:
การส่งเสริม, การมีส่วนร่วมทางการเมือง, ระบอบประชาธิปไตยบทคัดย่อ
บทความนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตยของเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย ของเจ้าหน้าที่กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ปัญหาและอุปสรรค คือ การแสดงความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่มีน้อย ควรส่งเสริมให้แสดงความคิดเห็นและเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสิทธิและเสรีภาพ ควรให้มีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่ออย่างทั่วถึง
References
ทินพันธุ นาคะตะ. (2543). การเมืองการบริหารไทย ภาระของชาติ. กรุงเทพฯ: สหายบล็อกและการพิมพ์.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล. (2548) ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สุพัฒ ผาสุโก. (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ของประชาชนอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ (สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด.
พิบูลย์ แพนพา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท ศึกษาเฉพาะกรณีตำบลพนมไพร อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด (วิทยานิพนธ์พัฒนาบริหารศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับประศาสนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.