The Sangha Administrative Development Since King Rama V to Present
Keywords:
พัฒนาการ, การปกครอง, คณะสงฆ์ไทยAbstract
บทความวิจัยนี้มีเพื่อศึกษาระบบ โครงสร้าง บทบาท อำนาจหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวการปรับปรุงการปกครองคณะสงฆ์ไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ พบว่า รูปแบบการปกครองในอดีตมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครอง และกระจายอำนาจออกเป็นส่วน ๆ ตามที่รับผิดชอบ บทบาทอำนาจหน้าที่การปกครองคณะสงฆ์ไทย ร.ศ. 121 มีความเป็นระเบียบที่ชัดเจนขึ้นใน พ.ศ. 2484 มีการตั้งสังฆสภา สังฆมนตรี และคณะวินัยธร และกลับมาใช้มหาเถรสมาคมตามเดิม และมีการแก้ไขพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เป็นลำดับจนถึงปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวการปรับปรุง คือ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์บางมาตราบัญญัติไว้ไม่ชัดเจนทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ ควรที่จะต้องแก้ไขให้เหมาะสมกับปัจจุบัน
References
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2560). ประวัติการเมืองไทย 2475-2500. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.
นุกูล ชิ้นฟัก และคณะ. (2561). พฤติกรรมของผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มีต่อการเลือกตั้งตาม
ประหยัด หงษ์ทองคำ. (ม.ป.ป.). การพัฒนาทางการเมืองโดยกระบวนการ ปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด พาพาส.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). ธรรมาธิปไตยไม่มาจึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ (จุดบรรจบ : รัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
วัฒนิกา ศิลปกุล. (2550). ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง สมาชิกสภาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษากรณี การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ (ปัญหาพิเศษมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง จังหวัดแพร่. (2562). การใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดแพร่. แพร่: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง.
สุรพล สุยะพรหม. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.