มาคิอาเวลลีกับศิลปะแห่งการครองอำนาจ

ผู้แต่ง

  • เชาวลิต จันมณี เทศบาลตำบลมะขามคู่ จังหวัดระยอง

คำสำคัญ:

มาคิอาเวลลี, แนวคิดทางการเมือง, การครองอำนาจ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดของ นิโคโล มาคิอาเวลลี ผ่านผลงานสำคัญเจ้าผู้ปกครอง ซึ่งเป็นรากฐานของปรัชญาการเมืองเชิงปฏิบัติที่เน้นการรักษาอำนาจและเสถียรภาพของรัฐ ในสภาพแวดล้อมที่ผันผวน แนวคิดหลักของมาคิอาเวลลี ได้แก่ การแยกศีลธรรมออกจากการเมือง โดยมองว่า ผู้นำควรคำนึงถึง ผลลัพธ์และความมั่นคงของรัฐมากกว่าคุณธรรม นอกจากนี้ เขายังเสนอว่า การสร้างความกลัวในหมู่ประชาชน มีประสิทธิภาพมากกว่าความรัก เพราะความกลัวช่วยให้รัฐมีเสถียรภาพมากขึ้น แนวคิดของมาคิอาเวลลีสะท้อนให้เห็นถึง ศาสตร์แห่งอำนาจที่อาศัยกลยุทธ์มากกว่าศีลธรรม
โดยเน้นการรักษาภาพลักษณ์ของผู้นำ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและควบคุมประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยวิเคราะห์ผลกระทบของแนวคิดมาคิอาเวลลีต่อการเมืองปัจจุบัน เช่น การบริหารจัดการวิกฤต การสร้างภาพลักษณ์ผ่านสื่อ และการรักษาอำนาจของผู้นำ แม้แนวคิดของเขาจะถูกวิพากษ์วิจารณ์ในเชิงจริยธรรม แต่ก็ยังคงเป็นกรอบสำคัญในการทำความเข้าใจพลวัตของอำนาจและกลไกทางการเมือง ดังนั้น บทความนี้จึงมุ่งนำเสนอแนวคิดของมาคิอาเวลลี ในฐานะเครื่องมือสำคัญในการทำความเข้าใจโครงสร้างอำนาจของรัฐ และการที่ผู้นำสามารถ ปรับตัวเพื่อรักษาอำนาจในสถานการณ์ที่ซับซ้อน แนวคิดเหล่านี้ยังคงมีอิทธิพลและความเกี่ยวข้องในโลกการเมืองร่วมสมัย

References

กษิดิศ รอดน้อย และพระชาณรงค์ ประเสริฐศรี. (2566). วิเคราะห์แนวคิดปรัชญาการเมืองของนิโคโล มาเคียเวลลี. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(5),

-216.

กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม. (2567). วิธีรักษาอำนาจฉบับ “มาเคียเวลลี” ผู้ถูกเรียกว่า “เจ้าของศาสตร์ทรราช”. สืบค้น 10 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/7ab9j

จตุพล ดวงจิตร. (2558). เจ้าผู้ปกครอง THE PRINCE. สืบค้น 11 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/HbknK

บ้านจอมยุทธิ์. (มปป.). มาเคียเวลลี่ (Nicolo Machiavelli ค.ศ. 146-1527). สืบค้น 11 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/ETHzx

พฤทธิกร สาระกุล. (2561). เจ้าผู้ปกครอง (The Prince). สืบค้น 11 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/n8JNO

ภาวิดา รังสี. (2565). มาคิอาเวลลี การเมืองไทยของเจ้าผู้ปกครอง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 14(1), 253-264.

Aong. (2015). “The Prince” by Niccolo Machiavelli. Retrieved January 10, 2025, from https://shorturl.asia/y8FYN

Britannica. (n.d.). Niccolò Machiavelli: Renaissance Political Realism. Retrieved January 10, 2025, from https://shorturl.asia/lztAj

ELCPG. (n.d.). Political Philosophy and Ethics Ruler Nicolo Machiavell. Retrieved January 10, 2025, from https://shorturl.asia/Gvs35

Greelane. (2019). The Life, Philosophy, and Influence of Niccolò Machiavelli. Retrieved January 10, 2025, from https://shorturl.asia/G5W9P

Mansfield, H. (2024). Niccolò Machiavelli Italian statesman and writer. Retrieved January 10, 2025, from https://shorturl.asia/lztAj

Najemy, J. M. (2006). A history of Florence 1200–1575. England: Oxford University Press.

Skinner, Q. (2000). Machiavelli: A very short introduction. England:Oxford University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-25

How to Cite

จันมณี เ. (2025). มาคิอาเวลลีกับศิลปะแห่งการครองอำนาจ. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 7(2), 117–131. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/AJPP/article/view/4420