ปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในองค์กร ภาครัฐและภาคเอกชนในยุคปัญญาประดิษฐ์

ผู้แต่ง

  • วสันต์ เกิดสวัสดิ์
  • สหพัฒน์ หอมจันทร์
  • กันต์ฐมณีญา นฤโฆษกิตติกีรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

ปัจจัยสนับสนุน, ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน, ยุคปัญญาประดิษฐ์

บทคัดย่อ

คุณประโยชน์ของการนำ AI (Artificial Intelligence) หรือ ปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการให้บริการของภาครัฐและภาคเอกชน คือ (1) การดำเนินงานมีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากขึ้น (2) ช่วยการพัฒนาบริการภาครัฐและภาคเอกชนใหม่ ๆ และทำให้มีคุณภาพมากขึ้น (3) ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ (4) ทำน้อยแต่ได้มากเพราะได้ผลลัพธ์จากการดำเนินงานที่ดีขึ้น โดยใช้ความพยายามน้อยลง การเตรียมความพร้อมในการใช้ AI ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีการปลูกฝังแนวคิดการพัฒนาและการใช้ประโยชน์จาก AI ในหน่วยงาน และพัฒนาแนวทางการจัดการข้อมูลและเครื่องมือเกี่ยวกับ AI อย่างมีแบบแผนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนทั่วโลกมีการประยุกต์ใช้ AI เพื่อให้บริการประชาชนในด้านต่าง ๆ อาทิ สวัสดิการสังคม สาธารณสุข ความมั่นคงภายในประเทศ การทหาร การคมนาคมขนส่ง การศึกษา เหตุฉุกเฉิน ประชาสัมพันธ์ และอื่น ๆ ปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence: AI เป็นเทคโนโลยีที่หลายประเทศได้นำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านอุตสาหกรรม ด้านสุขภาพ เป็นต้น การพัฒนาดิจิทัล จึงเป็นกลไกในการยกระดับการทำงานของทุกภาคส่วนให้ทันสมัยและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐและภาคเอกชนในการให้บริการที่รวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งประเทศไทยได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี AI โดยกำหนดนโยบายแผนพัฒนาด้านดิจิทัลและแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์ อย่างไรก็ตามจากผลการสำรวจการประยุกต์ใช้งาน AI ในประเทศไทยพบว่า วัตถุประสงค์สำคัญที่องค์กรต่าง ๆ นำ AI มาใช้เนื่องจากต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและให้บริการขององค์กร โดยประยุกต์ใช้สำหรับการบริหารจัดการภายในองค์กร ซึ่งเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและเพิ่มรายได้ให้กับองค์กรการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนนำมาใช้เพื่อยกระดับการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานภาครัฐและภาคเอกชน ลดความซ้ำซ้อนและสร้างมาตรฐานในการทำงานเนื่องจาก AI เป็นเทคโนโลยีที่สามารถเลียนแบบความสามารถของมนุษย์ที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำภาครัฐและภาคเอกชนของประเทศไทยได้มีการเตรียมความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านรูปแบบการทำงานให้เป็นรูปแบบดิจิทัล ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล การพัฒนาระบบการทำงานและการให้บริการที่มีความสะดวก รวดเร็ว เพื่อส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้แก่องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะ คือควรมีการปลูกฝังแนวคิดการพัฒนา AI ในหน่วยงาน ส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีทักษะทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น สร้างความร่วมมือของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนหน่วยงานให้มีความก้าวหน้า พัฒนากระบวนการและขั้นตอนที่จะนำเทคโนโลยี AI มาใช้ ตลอดจนการวางแผนการทำงานให้ผู้ที่ใช้งานปัญญาประดิษฐ์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนควรมีการประเมินความเหมาะสมในการนำปัญญาประดิษฐ์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน

References

กิตติยา ฐิติคุณรัตน์. (2557). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานองค์กร ซันไชน์ อินเตอร์ เนชั่นแนล

จำกัด, ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราช ภัฏรำไพพรรณี

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์ข้อมูลหลายตัวแปร บริษัท ธรรมสาร จำกัด.

ขวัญชัย ชมศิริ และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2560), ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงาน

ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สืบค้นจาก https://scholar.utcc.ac.th/bitstream

เจนจิราพร รอนไพริน. (2558), ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน)

สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว, งานนิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการเมืองการปกครอง, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชไมพร คงโพ. (2559), ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลับราชมงคล รัตนโกสินทร์,

งานนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยการ จัดการ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.

ณัฐวัตร เป้งวันปลูก. (2560). ปัจจัยจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ของข้าราชการทหาร ประจำ

สังกัดกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 7. งานนิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กร บริหารส่วน

จังหวัดชลบุรี, งานนิพนธ์การจัดการสาธารณะมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการ จัดการ, วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิรมล ตันติศิริอนุสรณ์ และ สมชาย คุ้มพูล. (2558), พฤติกรรมในการทำงานให้มีประสิทธิภาพของ พนักงาน

ระดับปฏิบัติการ บริษัท อินโนเฟรช อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด. วารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง,

นิสรารอดนุช. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานตรวจสอบ บัญชี ใน

สำนักงานสอบบัญชีขนาดใหญ่ 4 แห่งในประเทศไทย วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นิ่มนวน ทองแสน. (2557), ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานกลุ่มธุรกิจผลิต เครื่องสำอาง

ในเขตจังหวัดปทุมธานี งานนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการ จัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กร บริหารส่วน

จังหวัดชลบุรี งานนิพนธ์การจัดการสาธารณะมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการ จัดการสาธารณะ, วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา

ณพิชญา เทพรอด และคณะ, (2565). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการของนักเทคโนโลยี

ปัญญาประดิษฐ์ภาครัฐ, สืบค้นจาก https://s009.tci-thaijo.org/index.php/ Jted/article/view/

บุหงา ชัยสุวรรณ และคณะ. (2565) สถานการณ์ แนวโน้ม และความต้องการความรู้และทักษะ

ปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรวันทำงาน ในประเทศไทย, ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

ปรีดขา ผ่องบุญชู (2563) ปัจจัยที่มีอิทธิพลให้บุคคลเลือกใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ในการตัดสินใจลงทุน ใน

กองทุนรวมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (8 กรกฎาคม 2563), ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์นำ AI เพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาการ รักษา

มะเร็ง. สืบค้น จาก https://www.thaimediapr.com/%E0%B8%A3%E0% สำนักงานพัฒนา

รัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2565). กรอบการทำงานปัญญาประดิษฐ์ภาครัฐ สืบค้น จาก

https://local.dga.or.th/e-books-ai-government-framework/

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564), ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการของภาครัฐ (Al in

Government Services) สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/getattachment/bb938d1a-6dd4-4407-bd87-d026773eda89/ Al-in-Government-Services.aspx

สุเทพ ทองงาม. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลให้บุคคลเลือกใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการตัดสินใจลงทุนในกองทุน

รวมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประเสริฐ อุไร. (2559). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา องค์กร เอจีซี ออโตโม ทีฟ

(ประเทศไทย) จำกัด, งานนิพนธ์บริหารจัดการองค์กรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหาร จัดการ, คณะศิลปะศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกริก.

ปัญญาพร ฐิติพงศ์. (2558), แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กร ก่อสร้าง:

กรณีศึกษา องค์กร อินเตอร์ เอ็กซ์เพิร์ท คอนสตรัคชั่น จากัด, วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เปรมฤดี ศรีวิชัย และพินทอง ปินใจ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ พยาบาลหัวหน้า

เวร โรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดพะเยา. วารสารการพยาบาลและการดูแล สุขภาพ, 35(3), 155-164.

เมธี ไพรชิต. (2556). การหาปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ พนักงาน

กรณีศึกษา: องค์กร สุธานี จำกัด, งานนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์, คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

รุ่งนภา บังคลัน. (2559), ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู กลุ่มโรงเรียนบางบ่อ สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. งานนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

รัตน์ชนก จันยัง. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานในองค์กร ไม่แสวงผล

กำไร. การค้นคว้าอิสระการจัดการทั่วไปมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

วรลักษณ์ ลลิดศศิวิมล. (2559), แบบจำลองสมการ โครงสร้างการพัฒนาทุนมนุษย์ที่ส่งผลต่อ ความ ได้เปรียบ

ทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจเอกชนในจังหวัด สงขลา, วารสารบริหารธรุกิจเทคโนโลยีมหานคร,

สิริกร ปะวะโก. (2559), ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ไทยทริดิไม

จำกัด วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

สิริพร เมฆสุวรรณ. (2558). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนปทุมคงคา สังกัด สำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. งานนิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา การบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุทธิพงษ์ สิงห์ค้อ. (2559). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธร อำเภอเมือง

จังหวัดมหาสารคาม, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สุรมงคล นิ่มจิตต์ และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์กับการเป็น องค์กร

ศักยภาพสูง. Veridian E-Jurnal

อรพรรณ มาตช่วง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทุนมนุษย์กับความได้เปรียบทางการ แข่งขันของ

ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ, คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยสารคาม

อรสุดา ดุสิตรัตนกล. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิานของบุคลากร สำนักงาน

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : ศึกษาเฉพาะกรณีของบุคลากรส่วนกลาง งานนิพนธ์ศิลปศาสาตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม, คณะพัฒนา สังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Herzberg. F. et al. (1959). The Motivation to work. New York: John Wiley and Sons. Katz, D. & Kahn, R. L. (1978). The social psychology of organization (2nd ed). New Your: Jolm Wiley &

Sous.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.

Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-608.

Mager, R. F. & Besch, K. M. (1967). Developing vocational instruction belmont:

Fearon Publishing. New York: McGraw-Hill Book.

Plowman, E. & Peterson, G. E. (1953). Business organization and management. Illinois: Irwin.

Woo

dcock, M. (1989). Team development manual. Great Britain: Billing & Son.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2024

How to Cite

เกิดสวัสดิ์ ว., หอมจันทร์ ส. . ., & นฤโฆษกิตติกีรติ ก. . . (2024). ปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในองค์กร ภาครัฐและภาคเอกชนในยุคปัญญาประดิษฐ์. วารสารสหวิทยาการวิจัยและนวัตกรรมการศึกษา (Journal of Interdisciplinary Research and Educational Innovation), 3(2), 31–50. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JIREI/article/view/4327