การพัฒนาอุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิงควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน
คำสำคัญ:
ชุดรางปลั๊กไฟ, อินเทอร์เน็ตสำหรับทุกสรรพสิ่ง, ระบบควบคุมไฟฟ้าบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การพัฒนาอุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิงควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนเพื่อ 1) พัฒนาการพัฒนาอุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิง ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน 2) ศึกษาความพึงพอใจผู้ใช้อุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิง ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยได้แก่อุปกรณ์ปลั๊กไฟ ทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิงควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้อุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิงควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน ประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาอุปกรณ์ปลั๊กไฟเปิด-ปิดด้วยแอปพลิเคชันบลิงควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน สามารถนำไปใช้ในการควบคุมการเปิด-ปิดเต้ารับทั้ง 4 ช่องผ่านแอพพลิเคชันบลิง ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (=4.24, S.D.=0.48) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏผลดังนี้ ด้านการออกแบบมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (
=4.00, S.D.=0.71) ความเหมาะสมของขนาดอุปกรณ์ (
=4.20, S.D.=0.84) การใช้งานง่ายและสะดวกต่อการนำไปใช้ (
=4.60, S.D.=0.55) ความปลอดภัยในการใช้งาน (
=4.40, S.D.=0.55) ความสามารถในการนำไปใช้งานจริง (
=4.00, S.D.=1.00) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อชุดรางปลั๊กไฟควบคุมการใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก
References
ดวงใจ งามศิริ, นิพนธ์ บุญสกันต์, และซูฟียัน แวดือรามัน. (2567). การพัฒนาระบบจัดการฟาร์มอัฉริยะ i-Smart Farm. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3, 4(1), 71-80.
ชินวัจน์ งามวรรณากร, สุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ, และอมรเทพ มณีเนียม. (2561). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบควบคุมอุปกรณ์ภายในโรงงานขนาดย่อมด้วยเทคโนโลยีไร้สายผ่านแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ภายใต้แนวคิดอินเทอร์เน็ตสำหรับทุกสรรพสิ่ง. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. https://wb.yru.ac.th/bitstream/yru/5544/1/3.pdf
กรมวุฒิ นงนุช. (2561). รายงานการวิจัย เรื่อง ระบบสั่งงานด้วยเสียงบนเทคโนโลยีสรรพสิ่งเพื่อประยุกต์ควบคุมมอเตอร์ในงานด้านเกษตรกรรม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. https://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/2561/research.rmutsb-2561-20191128152831355.pdf
ขวัญเรือน วงษ์ไทย. (14 ธันวาคม 2565). เสียบปลั๊กทิ้งไว้ยังไงก็กินไฟ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. https://www.pea.co.th/ข่าวสารประกาศ/ข่าวประชาสัมพันธ์/ArtMID/542/ArticleID/152183/เสียบปลั๊กทิ้งไว้ยังไงก็กินไฟ
การไฟฟ้านครหลวง. (2565). อุบัติภัยประชาชนเนื่องจากไฟฟ้า. https://www.mea.or.th/statistics/accident-electricity
สุชาติ ดุมนิล. (2566). การพัฒนาระบบควบคุมการวัดค่าอุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยี IoT. วารสารวิชาการเทพสตรี I-TECH. 18(1). 1-16.
ประภาส สาระศาลิน. (2564). การประเมินการใช้สัญญาณไวไฟ probe เพื่อพัฒนาระบบตรวจจับคน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. DSpace. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3903/1/61318303.pdf
ณัฐดนัย สิงหคลีวรรณ, ธนกฤต จินดาศรี, และรัตนสุดา สุภดนัยสร. (2565). การพัฒนาตนแบบปลั๊กไฟอัจฉริยะสำหรับการตรวจสอบและจัดการพลังงานไฟฟาในบ้านอัจฉริยะ. วารสารวิชาการเทพสตรี I-TECH. 17(2). 159-169.
กอบเกียรติ สระอุบล. (2561). พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino และ Raspberry Pi. อินเตอร์มีเดีย.
อภิรักษ์ พันธุ์พณาสกุล, ฟิตรี ยะปา, และอัลนิสฟาร์ เจะดือราแม. (2563). การพัฒนาระบบเปิด-ปิดไฟด้วยไมโครเซนเซอร์ควบคู่กับแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 (หน้า 994-10). มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 (KRIS Journal)

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.