การปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดเก็บเอกสารโดยใช้แนวคิดของการคิดเชิงออกแบบ เพื่อการยกระดับสู่สำนักงานอัจฉริยะ
คำสำคัญ:
การปรับเปลี่ยน , กระบวนการจัดเก็บเอกสาร , การคิดเชิงออกแบบ , สำนักงานอัจฉริยะบทคัดย่อ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวหน้าไปมาก ช่วยแบ่งเบาภาระงาน ทำให้การทำงานมีความรวดเร็วคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงทำให้การจัดเก็บ การค้นหา และการส่งต่อข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับวิธีการทำงานแบบดั้งเดิมที่ใช้การรับส่งข้อมูลใช้ต้นฉบับกระดาษเป็นหลัก แต่การปรับเปลี่ยนการทำงานเอกสารในรูปแบบเดิมไปสู่รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออำนวยความสะดวกให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงานนั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ ทั้งงบประมาณ ระบบและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย บทความนี้นำเสนอการนำเอาแนวคิดของการคิดเชิงออกแบบมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดเก็บเอกสารเพื่อการยกระดับทำงานสู่การเป็นสำนักงานอัจฉริยะ ตั้งแต่ขั้นตอนการทำความเข้าใจปัญหา การกำหนดปัญหาให้ชัดเจน การระดมความคิด การสร้างต้นแบบที่เลือก จนถึงการทดสอบ อย่างไรก็ตามในอนาคตอันใกล้จากการเรียบเรียงบทความวิชาการนี้อาจได้รับการนำเสนอต่อยอดไปสู่กระบวนการวิจัยขั้นสูงซึ่งเป็นประโยชน์ทางด้านวิชาการ สังคม และประเทศชาติเพื่อสร้างความยั่งยืนในกระบวนการทำงานภายใต้สำนักงานอัจฉริยะต่อไป
References
กฤษดา เชียรวัฒนสุข และ ธีทัต ตรีศิริโชติ. (2565). แนวทางการพัฒนานวัตกรรมทางด้านการจัดการโดยใช้หลักการคิดเชิงออกแบบ. วารสารนักบริหาร, 42(1), 145-161.
จิรัชยา นครชัย. (2553). ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Document Management System). [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
ธนัช อ่อนทา. (2558). การจัดการเอกสารด้วยระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์. [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
ธวัช รัตนมนตรี. (2552). E-Office รูปแบบการดำเนินการเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัตงิาน. https://home.kku.ac.th/thawat/E-office.pdf
บริษัท ดิทโต้ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน). (2564). ข้อแตกต่างการจัดการเอกสารแบบเดิม กับการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์. https://www.dittothailand.com/dittonews/document-management-system/
ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. (2564). กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การคิดแห่งอนาคต. http://www.edbathai.com/Main2แผนกวิชาการระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน/86-บทความการศึกษา/320-design-thinking-กระบวนการคิดเชิงออกแบบ
พาสนา จุลรัตน์. (2561). การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุค Thailand 4.0. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(2), 2363-2380.
ไพรินทร์ หลวงมูล. (2553). การเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องตัดขึ้นรูปชิพโดยใช้เทคนิคการลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564. (2564, 25, พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 138 ตอนพิเศษ 113. หน้า 1-5.
วนิดา สิงห์น้อย. (2564). E-Office สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ช่วยทำงานในยุค 4.0. https://www.scimath.org/article-technology/item/12413-e-office-4-0
วสันต์ ผูพงษ์. (2556). ลักษณะสารสนเทศที่ดี เพื่อการบริหารจัดการ. https://www.gotoknow.org/posts/380330
ศรีจิตร รัตนแก้วกาญจน์. (2543). ระบบฐานข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ. (2550). การพัฒนาระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. CMU Intellectual Repository. http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/14634
สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. (2546). การจัดการสารสนเทศ. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ หน่วยที่ 1 (น. 2-16). นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุปรีดี ประวิตร. (2561). โน้มน้าวทางความคิดให้ไปสู่ระบบสํานักงานไร้กระดาษเพื่อตอบสนองตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0. หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 60, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). Government e-Service ยกระดับขีดความสามารถภาครัฐ เพื่อให้บริการประชาชน. https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Digital-Service/The-Power-and-Development-of-Government-e-Services.aspx
อภิชาต อานามนารถ. (2562). e-office คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร. http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=369
Cohen, J. M., & Uphoff, N.T. (1977). Rural Development Participation. Ithaca: Cornell University.
HR NOTE.asia. (2022). กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เครื่องมือสำคัญของการสร้างความสำเร็จให้องค์กร. https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190702-design-thinking/
Schaufeli, W. B., Salanova, M., González-Romá, V., & Bakker, A. B. (2002). The measurement of engagement and burn out: A two-sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3(1), 71-93.
Tiger. (2021). Design Thinking คืออะไร? การคิดเชิงออกแบบใน 5 ขั้นตอน. https://thaiwinner.com/design-thinking/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการจัดการโซ่คุณค่าและกลยุทธ์ธุรกิจ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.