การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผู้แต่ง

  • ธีรพงษ์ อินทรสมบัติ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • คัมภีร์ สุดแท้ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ, วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จําแนกตามประสบการณ์การทํางาน และระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่บุคลากรของวิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2567 จํานวน 80 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามตารางเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test)

        ผลการวิจัยพบว่า

  1. การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทั้ง 4 ด้าน
  2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2552). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552–2556. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

________. (2563). แผนปฏิบัติการดิจิทัลเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563–2565. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2564, จาก https://shorturl.asia/cqKxU

กนกวรรณ ปาลคะเชนทร์. (2561). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

กัลยาณี บังสี และชนมณี ศิลานุกิจ. (2566). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ตามทรรศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. (ปีที่ไม่ระบุ), (กรุณาระบุเลขหน้า).

เกียรติศักดิ์ แซ่ด่าน. (2555). แนวทางการบริหารการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ชฎาภรณ์ สงวนแก้ว. (2549). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการใช้ไอซีทีเพื่อการเรียนรู้ (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ธนาภรณ์ ธาราบรรพต. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการจัดการเรียนรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 และนานาชาติ ครั้งที่ 2 (หน้า 469–481).

นารีรัตน์ เพชรคง. (2564). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตจตุจักร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 8(1), 238–255.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ประภาส แต้มทอง. (2554). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์. (2549). การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้า กรุ๊ป.

ปริวรรต ธงธวัช โสภณ เพ็ชรพวง และสมคิด นาคขวัญ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารกับประสิทธิผลของระบบสารสนเทศของสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ปาหนัน เวฬุวัน. (2564). การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานของฝ่ายการศึกษาสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-2019) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ภูผาภูมิ โมรีย์. (2556). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารและประชาสัมพันธ์: กรณีศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ยุภาวรัตน์ ขันตีกรม. (2565). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 5(3), 37–51. สืบค้นจาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/human_dru/article/view/257993

เรณู จันทพันธ์. (2557). การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา. นครศรีธรรมราช: รุ่งศิริการพิมพ์.

ศักดิ์ชริน อาจหาญ. (2560). การศึกษาการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ศุภกร วงศ์ใหญ่. (2565). การบริหารจัดการโรงเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้อำนวยการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร. วารสารพัฒนาสังคมและชุมชน, 9(1), 417–428.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2567). สืบค้นจาก https://www.vec.go.th/Default.aspx?tabid=134

เสาวรัจ รัตนคำฟู. (2563). วิกฤติโควิด-19 การประกาศต้องเร่งลดพื้นที่ดิจิทัลเพื่อความเท่าเทียมในห้องเรียนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2563.

อภิญญา รัตนโกเมศ. (2552). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 32(4), 180–191.

Horn, V. (1991). Advance technology in education: An introduction to videodiscs, robotic, optical memory, peripherals, new software tools and high-tech staff development. California: Brooks/Cole.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607–610.

Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 22, 5–55.

Shah, M. (2014). Impact of management information systems (MIS) on school administration: What the literature says. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116, 2799–2804.

Ramsay, G. (2006). Teaching and learning with information and communication technology: Success through a whole school approach. School Administration: What the Literature Says.

Unbeach. (1998, as cited in Prawinya Suwannachot, 2006). กรณีศึกษากระบวนการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน. (Master’s thesis, Chulalongkorn Univer

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-30

How to Cite

อินทรสมบัติ ธ., & สุดแท้ ค. (2025). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา, 4(1), 68–79. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/edunmcj/article/view/4781