การพัฒนาทักษะการเขียนย่อความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร

Main Article Content

Nanteya Panchote

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


 


              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนย่อความ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนย่อความโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเขียน   สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน ชุดแบบฝึกทักษะการเขียนย่อความ จำนวน 4  แบบฝึก แบบวัดทักษะการเขียนย่อความ จำนวน 10 ข้อ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เรื่องการเขียนย่อความ   ซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ


              ผลการวิจัยพบว่า


  1. ผลการพัฒนาทักษะการเขียนย่อความ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร พบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนย่อความที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 84.14/82.70

  2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนย่อความ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

คำสำคัญ : ทักษะการเขียน/ การเขียนย่อความ/ ชุดแบบฝึกทักษะการเขียน


 

Article Details

บท
research article
Share |

References

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา

ลาดพร้าว.

กอบกาญจน์ วงศ์วิสิทธิ์. (2551). ทักษะภาษาเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

กัญณฐา พงศ์พิริยะวนิช. (2564). การวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 1. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

จุฑาทิพย์ ไกรนรา, อนันต์ อารีย์พงศ์, และ พูนสุข อุดม. (2558). การพัฒนาความสามารถในการเขียนย่อความของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ชุดการสอนแบบแผนผังความคิด. นราธิวาส: มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.

ชยาภรณ์ พิณพาทย์. (2542). การพัฒนาแบบฝึกทักษะภาษาไทยที่มีประสิทธิภาพเพื่อสอนซ่อมเสริมเรื่อง คำสะกดการันต์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. มหาสารคาม: ทีคิวพี จํากัด.

ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2543). สถิติพื้นฐานพร้อมตัวอย่างการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม MinitabSPSS และ SAS. ขอนแก่น:

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ณัฐชา อักษรเดช. (2554). การสร้างแบบฝึกการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์การศึกษา

มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ถวัลย์ มาศจรัส, และคณะ. (2550). นวัตกรรมการศึกษา ชุดแบบฝึกหัดแบบฝึกเสริมทักษะ. กรุงเทพฯ: เซ็นจูรี่.

ปรมาภรณ์ ลิมป์เลิศเสถียร. (2561). การเขียนเพื่อประสิทธิผล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. (2518). การเขียนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ปริศนา พลหาญ. (2549). การพัฒนาแบบฝึกทักษะหลักเกณฑ์ทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.

ผอบ โปษะกฤษณะ. (2526). ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย การเขียน การอ่าน การพูด การฟัง และราชาศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 3).

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บำรุงสาส์น.

พรทิพภา แก่นเรือง. (2552). การสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

รัตนา มหากุศล. (2540). การสอนทักษะการเขียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วราภรณ์ แสนคุ้ม, และ เด่นดาว ชลวิทย์. (2562). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนย่อความ เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนย่อ

ความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สุวีริยาสาส์น.

สมพงษ์ ศรีพยาต. (2553). การพัฒนาชุดแบบฝึกการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อภิรดี สาลิกา. (2555). การพัฒนาแบบฝึกการเขียนย่อความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัจฉรา ชีวพันธ์. (2531). ศาสตร์ของการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.