the สอนแต่งกลอนสี่อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคนิค 5Es
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนการสอนแต่งบทร้อยกรองในปัจจุบันไม่ประสบความสำเร็จมากนัก ด้วยเหตุผลหลายประการ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 2) ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3) ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation) 4) ขั้นขยายความรู้(Elaboration) 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) จึงเป็นวิธีสอนอีกแนวทาง
หนึ่งที่สามารถแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเป็นวิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามขั้นตอนของกระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง และฝึกให้ใช้กระบวนการคิด ก่อให้เกิดทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน และทักษะการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ: กลอนสี่แต่งบทร้อยกรอง วิธีสอน การสืบเสาะหาความรู้(5Es)
For a variety of reasons, current pedagogical methods for teaching poetry composition have not been particularly successful. The aim of this article was to provide the 5Es (Engagement, Exploration, Explanation, Elaboration, Evaluation) guided instructional model for teaching the art of composing effective four-verse poems, particularly in the form of quatrains. This instructional approach prioritized student-centered learning, supported critical thinking while leading students through the process of building knowledge, and helped them develop effective learning techniques. Also, it offered a promising solutions to the challenges faced in Thai poetry composition instruction.
Keywords: Four-verse Poems, Poetry Composition, Instructional Model, The 5Es Model
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารครุศาสตร์เล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยนครพนม และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จรรยา โท๊ะนาบุตร. (2560). รูปแบบการเรียนด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ในศตวรรษที่ 21 Applying the 5E Knowledge-Bases Inquisitive
Learning Management for the 21st Century. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2566. จาก
https://www.kroobannok.com/news_file/p20114860835.pdf
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่16). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัญรชนก บุญส่ง. (2561). ชุดการสอนตามกระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่องงานและพลังงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สืบค้นเมื่อ 20
มีนาคม 2566. จาก http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3440/1/RMUTT-160340.pdf
นรรัชต์ ฝันเชียร. (2563). การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (The 5 E’s of Inquiry-Based Learning). สืบค้นเมื่อ18 เมษายน 2565. จาก
https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/82385
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: แนวคิด วิธีการ และเทคนิคการสอน. เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ.
สมบัติ การจนารักพงศ์ และคณะ. (2549). เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E ที่เน้นพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. ธารอักษร.
สุรัตน์ คำหอมรื่น. (2559). การพัฒนาความสามารถในการแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วม
กับแบบฝึก. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. จาก boonsri1,+Journal+manager,+84_สุรัตน์.pdf
สุริยา แสนสุขไสย และคณะ. (2562). การเปรียบเทียบทักษะการแต่งคำประพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว
Constructivist กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. จาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186515
Sund. R.B. and L.W. Trowbridge. (1973). Teaching Science by Inquiry in the Secondary School. Ohio: Charles E. Merrill Publishing.
Clark, Leonard H. (1973). Teaching Inquiry in Handbook Secondary School. New York: Macmillan.
Collette, Alfred T., and Eugene L. Chiappetta. (1986). Science Instruction in the Middle and Secondary Schools. Columbus, Ohio: Charles
E. Merrill Publishing Company.