ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมมีความสำคัญมาก ที่ผู้บริหารทุกคนทุกระดับต้องมี เพื่อช่วยให้การบริหารงานในสถานศึกษาราบรื่นบรรลุจุดมุ่งหมาย

Main Article Content

piromya moolmuang

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 272 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 56 คน  ครู จำนวน 216 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ร้อยละ ได้มาโดยการสุ่มแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 2 ฉบับ คือ 1) แบบสอบถามสภาพ และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง  .32 – .86 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .97 2) แบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .34 – .92  มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (PNIModified).


            ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า 1) สภาพปัจจุบันในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการประเมินความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เรียงลำดับการประเมินค่าสูงสุดไปหาค่าที่ต่ำสุด ได้แก่ ด้านความเป็นผู้นำทางจริยธรรม ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ด้านความเป็นพลเมืองที่ดี ด้านความเมตตากรุณา ด้านความรู้ความสามารถ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความยุติธรรม ด้านความซื่อสัตย์ ตามลำดับ

Article Details

บท
research article
Share |

References

กมลชนก ราชสง และตรัยภูมินทร์ ตรีตรีศวร. (2565). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุม การประชุมหาดใหญ่วิชาการ

ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13 (น. 2235 - 2248). มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

กระทรวงศึกษาธิการ (2550). เอกสารประกอบการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ

สำหรับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. นครปฐม: สำนักงานบริหารบุคลากรทางการศึกษา.

กฤติมา มะโนพรม และคนอื่น ๆ. (2563). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำที่แท้จริงของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน,

วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 31(1), 152 - 168.

กันยมาส ชูจีน. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน: โมเดลสมการโครงสร้าง (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ไกรศร รักสวน. (2559). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธใน

สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร

มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ขวัญเรือน สุวรรณจันทร์. (2561). พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผู้บริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2. ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัย

ระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17 (น. 526-535). มหาวิทยาลัย

ราชภัฏพิบูลสงคราม.

คำพร กองเตย. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร.

(วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

จักรพงศ์ วงศ์พิทักษ์กุล (2561). กลยุทธ์ในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของนักเรียนนายสิบตำรวจในภาคเหนือตอนบน

ของประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ชีวิน อ่อนลออ และคณะ. (2564). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย, วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย, 11(4), 92 - 101.

ชุติมา รักษ์บางแหลม. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมและประเด็นปัญหาจริยธรรมในการบริหาร

สถานศึกษาของผู้บริหารวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนกกระทรวงสาธารณสุข. (วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ภิญโญ ทองมา. (2561). รูปแบบพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาให้สูงขึ้นรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำทางจริยธรรม

เชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

(ดุษฎีนิพนธ์ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ณัฐริดา นิพนธ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนา

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์

เขต 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธนิกา กรีธาพล. (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1-7. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 13(2), 214 – 225.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พระครูปลัดธรรมจริยวัฒน์ (สาคร ชิตงฺกโร) และสัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2557). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม: แนวคิด ทฤษฎี และการ

วิจัย. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

เพ็ญศิริ สมเรือน. (2560). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

ตราด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ทิพย์วิสุทธิ์.

ศัจนันท์ แก้ววงศ์ศรี. (2558). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยในภาคใต้ตอนล่าง.

(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ศิริพร สิทธิศรี, สุชาติ บางวิเศษ และสุขุม พรมเมืองคุณ. (2565). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหาร

โรงเรียนเอกชนในจังหวัดเลย. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 19(86), 79 - 88.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. (2565). ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการ

ดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA

Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. https://www.nkpedu1.go.th/

. (2566). ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน. https://www.nkpedu1.go.th/

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

หนูไกร มาเชค. (2559). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน. (การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

หงษา วงค์จำปา. (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สกลนคร.

Gini, AL. & Green, R. M. (2013). 10 Virtues of Outstanding Leaders: leadership and character. Malaysia:

Ho Printing (M) Sdn Bhd.

Kalshoven, K. and others. (2011). Ethical leadership at work questionnaire (ELW): Development and

validation of a multidimensional measure, The Leadership Quarterly, 22(1), 51 - 69.

Katarina, K., Bogdan, L., & Metka, T. (2010). Ethical leadership. International Journal of Management &

Information Systems, 14(5), 31 - 42.

Vikaraman, S. S. and orthers. (2021). Ethical Leadership Practices and Trust Among Public School Leaders in

Malaysia, Asian Journal of University Education, 17(3). 174 - 191.