ความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรู้: ตัวแปรสำคัญที่คนเป็นครูไม่ควรมองข้าม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ความรู้และความสำคัญของความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรู้ต่อครูผู้สอนเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจมโนทัศน์ของความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรู้และเห็นแนวทางหรือบทบาทของครูที่ต้องจัดการเรียนรู้
ในสถานการณ์ที่ผู้เรียนในห้องเรียนมีความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรู้ต่างกัน ตลอดจนเห็นแนวโน้มการทำวิจัยทางการศึกษา
ที่เกี่ยวข้องกับความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรู้ในปัจจุบัน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการวิจัยโดยศึกษาในฐานะตัวแปรเกินประเภทตัวแปรแทรกซ้อน ผ่านการประยุกต์ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรด้วยการนำตัวแปรดังกล่าวมาเป็นตัวแปรอิสระที่สนใจศึกษาร่วมด้วย อันจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทั้งในมิติความรู้ ทักษะ และมีเจตคติเชิงบวกต่อการเรียน นำสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารครุศาสตร์เล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยนครพนม และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ชนัญชิดา ทุมมานนท์, ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ, ชุติมา สุรเศรษฐ, จรินทร วินทะไชย์, ชนิศา ตันติเฉลิม, และดุสิดา
ทินมาลา. (2564). ผลของการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานที่มีต่อระดับการยึดมั่นผูกพัน
ในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23(2), 140-151.
https://so06.tcithaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/244878/168006
ทิพอาภา กลิ่นคำหอม. (2556). โมเดลเชิงสาเหตุของความยึดมั่นผูกพันของนักเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ที่เกิดจากอิทธิพลของครู [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual
Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43173
นพมาศ ว่องวิทยสกุล. (2557). การพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษา: การทดลองแบบอนุกรมเวลา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45811
ยุวดี พันธ์สุจริต. (2554). การวิเคราะห์โมเดลทางเลือกของความยึดมั่นผูกพันกับโรงเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผ่านการเรียนรู้แบบลุ่มลึก [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual
Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26808
ลลนา เลิศจิระวงศ์. (2563). การพัฒนาความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียนและความสามารถในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีนของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์. https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Lalana.Ler.pdf
วิจารณ์ พานิช. (2556). สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วิชัย วงศ์ใหญ่, และมารุต พัฒผล. (2562). การโค้ชเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.
วิมลพันธ์ ทรายทอง. (2561). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความยึดมั่นผูกพันในการเรียนของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรู้ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. http://ir-ithesis.swu.
ac.th/dspace/handle/123456789/124
ศิริชัย กาญจนวาสี และชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2557). ตัวแปรสำหรับการวิจัย: ความหมาย ประเภท การคัดเลือก การวัด
และการควบคุม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 14(1), 9-37. https://so02.tci-thaijo.org/index.
php/eduthu/article/view/45315/37497
สมชาย ทุนมาก. (2567). การพัฒนาความสามารถการเขียนเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความยึดมั่นผูกพัน
กับการเรียนต่างกัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน (CO – 5 STEPs) ร่วมกับแบบฝึก ทักษะที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัด
สุโขทัย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6294
อุทุมพร ภักดีวงศ์. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความผูกพันของผู้เรียนและ
ความสามารถทางการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี
บัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/308567
Hart, S. R., Stewart, K. & Jimerson, S. R., (2011). The Student Engagement in Schools Questionnaire (SESQ)
and the Teacher Engagement Report Form-New (TERF-N): Examining the Preliminary Evidence.
Contemporary School Psychology, 15(67-79). https://www.casponline.org/pdfs/pdfs/2011_
journal_all_001-144-b.pdf
Li, J. & Xue, E. (2023). Dynamic Interaction between Student Learning Behaviour and Learning
Environment: Meta-Analysis of Student Engagement and Its Influencing Factors. Behavioral
Sciences, 13(1), 59-74. https://doi.org/10.3390/bs13010059
Skinner, E.A., & Belmont, M.J. (1993). Motivation in the classroom: Reciprocal effects of teacher behavior
and student engagement across the school year. Journal of Educational Psychology, 85(4), 571-