การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการเรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านป่าพลู จังหวัดลำพูน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ (การเขียนโปรแกรมโดยการสร้างลำดับของคำสั่ง) ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านป่าพลู จังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ (การเขียนโปรแกรมโดยการสร้างลำดับของคำสั่ง) ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาความ
พึงพอใจของนักเรียนที่่เรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 12 คน
ผลการศึกษาพบว่า
1) การจัดการเรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ (การเขียนโปรแกรมโดยการสร้างลำดับของคำสั่ง) ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านป่าพลู จังหวัดลำพูน นักเรียนมีผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 91.67 ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 100
2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่่เรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ (การเขียนโปรแกรมโดยการสร้างลำดับของคำสั่ง) ตามวัฏจักรการเรียนรู้้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านป่าพลู จังหวัดลำพูน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.93 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.17 คุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารครุศาสตร์เล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยนครพนม และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
Pongsak Phakamas and team. (2019). Guidelines for the development of ICT systems for educational innovation management of Rajamangala University of Technology in Thailand. Journal of Education and Learning Innovation, 2(2), 109-130. [in Thai]
Laosombut, W., & Julsuwan, S. (2020). The development of a teacher development program in learning management to promote Critical thinking of learners under Nongbualamphu Primary Educational Service Area Office 1. Journal of MCU Nakhondhat, 7(5), 239-249. [in Thai]
Wongprakhon, W., & Sae-Joo, P. (2021). Development of multimedia lessons using learning management model. Problem Based Programming (PBL) to promote problem solving skills in C programming language for students. Grade 4. Journal of Modern Learning Development, 6(6), 89-103. [in Thai]
Pichet Phonsim, & La Pavaphutanon. (2011). The development of learning activities that emphasize meta-thinking processes. Cognition for solving mathematical problems on linear equations in one variable by using 5Es teaching methods for Mathayomsuksa 1 students. Journal of Education Khon Kaen University (Graduate Studies Research), 5(2), 51- 58. [in Thai]
Siriwan Chatmanee Rungcharoen (2016). Content knowledge, combined with teaching methods and technology of science teachers for Provide learning to integrate local community contexts and the philosophy of sufficiency economy. academic journal Phuket Rajabhat University, 12(2), 107-139. [in Thai]
Kanda Chanyam. (2022). Necessary Skills for Youth to Enter the Labor Market in the 21st Century: A Case Study of Southern Thailand. Journal of Yala Rajabhat University, 17(3), 127-137. [in Thai]
Phra Sitthichai Rinrit, & Suriporn Chabutbuntharik. (2020). Learning and teaching social studies in the 21st century. Journal of Roi Kaensarn Academi, 5(2), 204-212. [in Thai]
Pimploy Hongthong. (2022). Teaching coding through learning activities on planning tourist routes in Wiang Kalong. Journal of Science, Chandrakasem Rajabhat University, 31(1), 47-59. [in Thai]
Maneenil, A., & Thumrongsotisakul, W. (2022). Online geography exam on analytical thinking ability and geographic ability. of students in grade 1 Academic MCU Buriram Journal, 7(1), 101-114. [in Thai]
Panitsupa Kosila, & Nittaya Pleungnuch. (2010). Development of science process skills and characteristics. Psychological aspects of early childhood children using inquiry-based teaching and learning activities. Journal of Education Khon Kaen University (Graduate Studies Research), 4(3), 53-60.
[in Thai]
Phapakdee, J., & Chookhampaeng, S. (2020). Development of data interpretation competency and Scientific testimonies of Mathayomsuksa 5 students who received the A quest driven argumentative tactic. Journal of MCU Nakhondhat, 7(10), 248-260. [in Thai]
Maneenil, A., & Thumrongsotisakul, W. (2022). The effect of learning activities using the online Geography Examination process on analytical ability and geographic ability of Grade 1 students. Academic MCU Buriram Journal, 7(1), 101-114. [in Thai]
Panit Supha Ko Sila, & Nittaya Peleungnut. (2010). Developing skills in science processes and psycho-emotional characteristics for preschool children by using research-based learning and teaching activities. Journal of Education Khon Kaen University (Graduate) Studies Research), 4(3), 53-60. [in Thai]
Phapakdee, J., & Chookhampaeng, S. (2020). Developing Competency in Data Interpretation and Scientific Testimony of Mathayomsuksa 5 Students Managed in Survey-Driven Learning with Argumentative Strategies. Journal of MCU Nakhondhat, 7(10), 248-260. [in Thai]