ล้านช้างในน่าน: ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับชาวล้านช้างในรัฐน่าน ยุคพุทธศตวรรษที่ 24-25
คำสำคัญ:
น่าน, ชาวล้านช้าง, ข้อสังเกต, พุทธศตวรรษที่ 24-25บทคัดย่อ
การยกตัวอย่างทางวัฒนธรรมของล้านช้างที่ปรากฏในน่านโดยทั่วไป มักละเลยถึงความเป็นไปได้ของประวัติศาสตร์ของน่านในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24-25 ซึ่งน่านฟื้นฟู ความเป็นรัฐขึ้นมาใหม่ บทความนี้จึงมุ่งจะสำรวจการปรากฏตัวของชาวล้านช้าง ในประวัติศาสตร์น่าน รวมถึงมองหาตัวอย่างความเป็นไปได้ของวัฒนธรรมล้านช้าง ที่ปรากฏในน่านภายใต้ช่วงเวลาดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า น่านในช่วงเวลาดังกล่าว มีความสัมพันธ์ในด้านประชากรกับเวียงจันทน์ และปรากฏหลักฐานที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมล้านช้างในงานด้านวรรณกรรมด้วย อย่างไรก็ตามแม้จะปรากฏหลักฐานที่แสดงถึงการมีตัวตนอยู่และการสืบเนื่อง แต่ประชากรกลุ่มดังกล่าวไม่ได้เป็นกลุ่มใหญ่มากพอ ที่จะมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมหลักในภาพรวมของน่านแต่อย่างใด
References
กรมศิลปากร. (2461). ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 10. โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
กรมศิลปากร.(2462). ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 11. โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
กรมศิลปากร.(2483). ประชุมกฎหมายโบราณไทย เล่ม 1 ว่าด้วยธรรมศาสตร์ปกรณ์ และ กฎหมายพิจารณาอาณาจักร์และธรรมเทียบกัน. โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
กรมศิลปากร.(2530). จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 3. สหประชาพาณิชย์.
กรมศิลปากร.(2537). เมืองน่าน ประวัติศาสตร์ โบราณคดี และศิลปะ. ชวนพิมพ์.
เธียรชาย อักษรดิษฐ์, ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ และภานุพงษ์ เลาหสม. (2551). ลวดลายพุทธศิลป์น่าน. สันติภาพแพ็คพรินท์.
นิติลักษณ์ แก้วจันดีและวัชรพล พุทธรักษา. (2560). กฎหมายโบราณอีสาน: สถานภาพ องค์ความรู้และข้อคิดเห็นบางประการ, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ การสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา ครั้งที่ 16 ประจำปีการศึกษา 2559 (น. 79-99). คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. วชิรญาณ เล่ม 8/24. (2556). วชิรญาณ/มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี. มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.
เมเนเจอร์ออนไลน์. (2559, 10 เมษายน). ข่าวภูมิภาค ภาคเหนือ: วิจารณ์หึ่ง! น่านหลุดโผเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านน. https://mgronline.com/
local/detail/9590000036722
สรัสวดี อ๋องสกุล. (2559). พินิจหลักฐานประวัติศาสตร์ล้านนา. ศูนย์ล้านนาศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2557). ประวัติศาสตร์อีสาน 2322-2488 เล่มที่ 2. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และ ศรีธน คำแปง (ปริวรรต). (2528). หนังสือพื้นนาเมืองน่าน.ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่.
McCarthy, J. (F.R.G.S.). (1900). Surveying and exploring in Siam. J. Murray.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.