ผลกระทบของภาษาแม่และหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นต่อการเลือกใช้สกรรมกริยาและอกรรมกริยาภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย

ผู้แต่ง

  • วรางคณา วิริยะพันธ์ สาขาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

คู่กริยา, สกรรมกริยา, อกรรมกริยา, การรับรู้ภาษา, หนังสือเรียน

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบที่ส่งผลต่อการเลือกใช้คู่กริยา สกรรมกริยาและอกรรมกริยาในภาษาญี่ปุ่นและเพื่อศึกษาผลกระทบเหล่านั้น ส่งผลต่อการรับรู้สกรรมกริยาและอกรรมกริยาในผู้เรียนชาวไทยอย่างไร ภาษาแม่และ การเรียนการสอนส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาภาษาอังกฤษของผู้เรียน ดังนั้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนชาวไทยต่อการเรียนภาษาญี่ปุ่น งานวิจัยชิ้นนี้จึงได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อสอบถามถึงปัญหาต่อการรับรู้การเลือกใช้คู่กริยาและการสำรวจหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ในผู้เรียนชาวไทย เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์งานวิจัย ในการศึกษานี้ มีผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 53 คน ซึ่งเป็นผู้เรียนชาวไทยระดับอุดมศึกษาในการตอบแบบสอบถามและได้มีการสำรวจถึงการปรากฏของคู่กริยาหรือการใช้เพียงสกรรมกริยาหรืออกรรมกริยาเท่านั้นที่ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นเพื่อศึกษาระดับความถี่ ของคู่กริยาที่ปรากฏหากส่งผลต่อการรับรู้การเลือกใช้ภาษาญี่ปุ่น จากผลการศึกษาพบว่าภาษาแม่ของผู้เรียนส่งผลกระทบต่อการเลือกใช้สกรรมกริยาหรืออกรรมกริยา อีกทั้ง ยังปรากฏว่าความถี่ของการใช้สกรรมกริยาที่ปรากฏในหนังสือเรียนและลำดับบทเรียนส่งผลต่อการเลือกใช้คู่กริยาของผู้เรียนชาวไทย

References

Goldberg, A. E. (2003). Constructions: a new theoretical approach to language. Trends in Cognitive Sciences, 7(5), 219-224.

Benati, A. (2019). The Role of Instruction: An Update. Language Teaching Research Quarterly, 11, 11-19.

Anderson, J. R. (2009). Cognitive Psychology and Its Implications (7th ed.). New York: Worth Publishers.

Rose, H. & Carson, L. (2014). Chinese and Japanese language learning and foreign language education in Japan and China: Some international perspectives. Language Learning in Higher Education, 4(2), 257-269.

Jongsutjarittam, P., Skulkru, P. & Sattayapong, S. (2004). Basic Japanese Language Education in Thailand. The Japan Foundation Bangkok, 1, 115-140.

Johnston, J. (2005). Factors that Influence Language Development. Encyclopedia on Early Childhood Development.

Bardovi-Harlig, K. (1999). Exploring the Interlanguage of Interlanguage Pragmatics: A Research Agenda for Acquisitional Pragmatics. A Journal of Research in Language Studies, 49(4), 677-713.

Nilsson, M. (2006). Positive and Negative aspects. Textbooks and Alternative material.

Makiko, M. (2004). The Acquisition of Japanese Intransitive and Transitive Paired Verbs by English-Speaking Learners: Case Study at the Australian National University. 「世界の日本語教育」, 14, 167-192.

Nishi, Y. & Shirai, Y. (2008). Verb learning and the acquisition of aspect: L1 transfer of verb semantics. Linguistic Approaches to Bilingualism, 11, 1-46.

Saelim, P. (2015). Factors influencing the selection of transitive and intransitive verbs. 日本語教育方法研 究会誌, 22(2), 76-77.

Kaewkitsadang, P. & Srisattarat, S. (2012). A Study of the Problems of Japanese Language Education in Thai High Schools. Japanese Studies Journal Special Issue, 29, 110-117.

Sangthongsuk, H. (2006). A Survey on the Use of ‘Akiko to Tomodachi’ in High Schools. The Japan Foundation Bangkok, 3, 181-183.

Chawenkijwanich, S. (2008). Problems on Acquisition of Japanese transitive and intransitive verbs by Thai students of Japanese. Journal of Liberal arts, 8(1), 79-108.

Shimada, T. & Kordoni, V. (2003). Japanese “Verbal Noun and suru” Constructions. Proceedings of the workshop on Multi-Verb constructions Trondheim Summer School 2003.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-26

How to Cite

วิริยะพันธ์ ว. . (2022). ผลกระทบของภาษาแม่และหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นต่อการเลือกใช้สกรรมกริยาและอกรรมกริยาภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 6(2), 196–216. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/1258