แนวทางการพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรีสู่ความเป็นเลิศชายขอบ EEC
คำสำคัญ:
แนวทางการพัฒนา, จังหวัดปราจีนบุรี, เศรษฐกิจและอีอีซีบทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์ 2 ประการ คือ ประการแรกเพื่อศึกษาพัฒนาการทางเศรษฐกิจของจังหวัดปราจีนบุรี ประการที่สองเพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรีสู่ความเป็นเลิศของจังหวัดในภาคตะวันออกท่ามกลางกระแสการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมตามนโยบายระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก พบว่า จังหวัดปราจีนบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกที่มีประวัติศาสตร์ของจังหวัดที่ยาวไกลนับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนกระทั่งถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเป็นจังหวัดที่มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่สูงมาก โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัด ณ ราคาตลาดต่อหัวต่อหนึ่ง ในช่วง พ.ศ. 2555-2562 ซึ่งอยู่ในลำดับที่ 4 ของประเทศรองจาก กรุงเทพมหานคร ระยอง และชลบุรี ดังนั้นในการพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรีสู่ความเป็นเลิศจำเป็นต้องเดินตามแผนการพัฒนาจังหวัดและปรับจุดแข็งของจังหวัดให้เป็นเมืองเศรษฐกิจสีเขียวและอุตสาหกรรมบริการ เพื่อให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียวและเมืองท่องเที่ยวเพื่อรองรับการเติบโตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกต่อไป
References
เรื่อง พระราชบัญญัติยุบและรวมการปกครองบางจังหวัด พุทธศักราช 2485. (2485, 10 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 59 ตอนที่ 77.
เรื่อง พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489. (2489, 9 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 63 ตอนที่ 29เรื่องประกาศ เรื่องการเปลี่ยนชื่ออำเภอ. (2460, 29 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 หน้า 40.
ภารดี มหาขันธ์, รองศาสตราจารย์. (2555). การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน. องศาสบายดี :
นนทบุรี.จังหวัดปราจีนบุรี. 2559. แผนพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ.2561 – 2564. 30 กันยายน 2559.
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. 2559. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. สำนักนายกรัฐมนตรี : กรุงเทพมหานคร.
Richards, G. (2019). Creative tourism: Opportunities for smaller places? Tourism and Management Studies , 15 (Special Issue), 7-10.
ไทยรัฐออนไลน์. (2562). เปิดชื่อ 55 เมืองรอง รัฐบาลแจกเงินไปเที่ยว. สืบค้น 8 มิถุนายน 2563. จากhttps://www.thairath.co.th/news/society/1551041
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.