วัฒนธรรมการแห่พระอุปคุต : ความหมาย บทบาท และความเป็นมา ในชุมชนบ้านปะโด๊ะ ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
พระอุปคุต, วัฒนธรรม, บทบาท, กูย(ส่วย), บ้านปะโด๊ะ, ศรีสะเกษบทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาการให้ความหมายทางวัฒนธรรมและระบบความเชื่อของคนไทยเชื้อสายกูย (ส่วย) และลาว ในชุมชนบ้านปะโด๊ะ ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีกระบวนการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านวัฒนธรรม การแห่พระอุปคุตในโอกาสการหล่อพระประธานวัดบ้านปะโด๊ะ และงานบุญผะเหวดอันเป็นวัฒนธรรมสำคัญในงานบุญของท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมการแห่พระอุปคุตมีความหมายทางวัฒนธรรม ที่เกิดจากระบบความเชื่อดั้งเดิมในท้องถิ่น เช่น ความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และการนับถือผี เป็นการให้ความหมายของประเพณีจากตำนานผสมผสานกับความเชื่อ ส่วนความเชื่อที่เกิดขึ้นนั้นเป็นส่วนหนึ่งที่มาจากกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ในครอบครัวและชุมชน รวมถึงกลุ่มคนภายนอก โดยมีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางที่จะเชื่อมโยงวัฒนธรรมและเพื่อรวมกลุ่มคนเข้าร่วมกิจกรรมในนาม “วัฒนธรรมท้องถิ่น” วัฒนธรรมนี้จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการบ่งบอกอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้ผู้อื่นรับรู้ ว่าเป็นประเพณีหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์กูย (ส่วย) ในท้องถิ่นศรีสะเกษ
References
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ. (2562). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ:
ภาพพิมพ์.
แก้ว บุญช่วย. ชาวบ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
ข้อมูลประวัติวัดปะโด๊ะ. (มปป.). มปท. : มปพ..
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2561). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา. ศรีสะเกษ: คณะฯ.
คลิฟฟอร์ด เกียร์ซ. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย : ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ. แปลโดย อคิน รพีพัฒน์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
งามพิศ สัตย์สงวน. (2545). สถาบันครอบครัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาครอบครัวไทยโซ่ง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2537). วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชมพูนุท นาคีรักษ์. (2537). พื้นฐานอารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ดนัย ไชยโยธา. (2538). ลัทธิ ศาสนา และระบบความเชื่อกับประเพณีนิยมในท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ทองอ่าน ภูนุภา. ชาวบ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
ธนพล วิยาสิงห์. (2560). การรับรู้และทัศนคติของชาวกูยต่อคำว่า กูย กวย หรือส่วย :กรณีศึกษาชาวกูยในจังหวัดศรีสะเกษ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
ธนิก เลิศชาญฤทธิ์. (2554). การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2548). การประดิษฐ์สร้างประเพณี : ประวัติศาสตร์ของปัจจุบัน.นิตยสารศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1. พฤศจิกายน 2548. หน้าที่ 77 – 83.
ธนากร พรมลิ. ปราชญ์ชาวกูย. (6 พฤษภาคม 2563). สัมภาษณ์.
บุญยงค์ เกศเทศ. (2551). วัฒนธรรมเผ่าพันธุ์มนุษย์. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2552). ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาอีสาน. ขอนแก่น:ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2560). พัฒนาการภูมิปัญญาอีสาน : จากความรู้พื้นบ้านสู่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ลุ่มน้ำโขง
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปัญญา อาจหาญ. ชาวบ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. (บรรณาธิการ). (2543). คนใน : ประสบการณ์ ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
ประดิษฐ ศิลาบุตร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราชญ์จังหวัดศรีสะเกษ. (9 เมษายน 2563). สัมภาษณ์.
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดศรีสะเกษ. (2549). ศรีสะเกษ: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษและภาคีเครือข่าย.
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ. (2548). ศรีสะเกษ: สภาวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ.
พัชรา ปราชญ์เวทย์. (2556). โครงการขะลำ : การวิเคราะห์ภูมิปัญญาไทยในความเชื่อของชาวจังหวัดศรีสะเกษ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
พยุงศักดิ์ บัวไข. อดีตผู้ใหญ่บ้านบ้านปะโด๊ะ. (28 ธันวาคม 2562). สัมภาษณ์.
พระบุญนาค อติพโล (กิจเกษม). (2556). ศึกษาความเชื่อเรื่องพระอุปคุตในสังคมไทย.(วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระปฐมสมโพธิกถาฉบับพิสดาร. (2531). กรุงเทพฯ : อักษรสาส์น.
พระประพันธ์ สุทฺธจิตโต (กวาวสิบสาม). (2548). อิทธิพลความเชื่อเรื่องพระอุปคุตที่มีต่อพิธีกรรมชาวพุทธล้านนา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต).
พระนครศรีอยุธยา: ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระภัทรพงษ์ นิรุตฺติเมธิ (มะโนวัน). (2550). ศึกษาอิทธิพลของพระอุปคุตที่มีต่อสังคมชาวพุทธในล้านนา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต).พระนครศรีอยุธยา: ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระวิทญ์ ธมฺมโร (ธนานรารัตน์). (2556). วิเคราะห์คติเชิงปรัชญาที่ปรากฏในเรื่องพระอุปคุต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา : ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ. (2513). พระอุปคุตผาบมาร. กรุงเทพฯ : อักษรทองการพิมพ์.
พระอาจารย์ธนรัตน์ ถาวรธมฺโม. พระสงฆ์วัดบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. (2520). การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภราดร ศรปัญญา และคณะ. (2558). ศรีสะเกษจังหวัดของเรา 2 : ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจการคมนาคมและสิ่งแวดล้อม. อุบลราชธานี : ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2563). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. 2562. ศรีสะเกษ: ศรีสะเกษการพิมพ์.
ยา กุดสง. ชาวบ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
วีระ สุดสังข์. (2545). “กวย” : ชนกลุ่มน้อยจากลุ่มแม่น้ำโขงถึงลุ่มแม่น้ำมูล.กรุงเทพฯ: โป๊ยเซียน.
วาสนา แช่มสนิท. ชาวบ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. (2557). พระอุปคุต : การสืบทอดและการผลิตซ้ำความเชื่อตำนานและพิธีกรรมในสังคมไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิรชัช พรหมดี, บรรณาธิการ. (2555). ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักพิมพ์สโมสรศิลปินศรีสะเกษ.
ศิราพร ณ ถลาง; และคนอื่นๆ. (2558). ประเพณีสร้างสรรค์ในสังคมไทยร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
สวิง บุญเจิม. (2540). ตำรามรดกอีสาน. อุบลราชธานี: สำนักพิมพ์มรดกอีสาน.
สมชาย นิลอาธิ, และคณะ. (2555). เฮือนพื้นถิ่น : วิถีชีวิตและคติความเชื่อในใบลาน. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.
สุรินทร์ เมืองจันทร์. ผู้ใหญ่บ้านบ้านปะโด๊ะ. (13 มีนาคม 2563). สัมภาษณ์.
เอกสารการสอนชุดวิชาความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย 13204 : หน่วยที่ 1-7. (2550). นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อุดม เชยกีวงศ์. (2545). ประเพณีพิธีกรรมท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.