การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการใช้คำเสริมน้ำเสียงในภาษาจีน ของผู้เรียนชาวไทย
คำสำคัญ:
คำอักษรพ้องรูปในภาษาจีน, การออกเสียง, รูปแบบทางความหมาย, ชนิดคำบทคัดย่อ
บทความวิจัยการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการใช้คำเสริมน้ำเสียงในภาษาจีนของผู้เรียนชาวไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความหมายและการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการใช้คำเสริมน้ำเสียงโดยสามารถแบ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อผิดพลาดออกเป็น 4 ประเภท คือ การตกหล่นของคำหรือส่วนประกอบ การเกินมาของคำหรือส่วนประกอบ การใช้คำผิดความหมายและการเรียงลำดับคำหรือส่วนประกอบไม่ถูกต้อง ผลการวิจัยนี้สามารถเพิ่มความสามารถและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยให้เหมาะสมต่อไป
References
สุนันท์ อัญชลีนุกูล. (2562). ระบบคำภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Dictionary of Chinese Academy of Social Sciences and languages .(2016).Modern Chinese Dictionary (7th Edition). Beijing: The Commercial Press
Lu Jianji. (1994).An Analysis of Grammatical Errors in Learning Chinese.Foreigners Language teaching and research.
Qi Huyang. (2002).On the Establishment of Mood System in Modern Chinese. Chinese Learning.
Qi Huyang. (2003).Some problems related to the norms of modal particles. Application of language and characters.
Xu Lihua. (2002).Modal Particles. Journal of Zhejiang Normal University.
Zhang Wei, Wan Yanmei. (2011). An Analysis of Errors in the Chinese Modal Particles by Korean Students. Anhui Literature (second half of the month).
Zhou Xiaobing. (2009). Introduction to teaching Chinese as a foreign language. Beijing: Commercial Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.