การบริหารจัดการตลาดประชารัฐ กรณีศึกษาตลาดประชารัฐบ้านปรือคันตะวันออก ตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ

ผู้แต่ง

  • จรูญ แช่มชื่น สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

บริหารจัดการ, ตลาดประชารัฐ, ตลาดประชารัฐบ้านปรือคันตะวันออก, ปัญหา, ความต้องการ

บทคัดย่อ

วิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตลาดประชารัฐบ้านปรือคันตะวันออก และ เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการของผู้ขายและผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ พบว่าการบริหารจัดการตลาดประชารัฐบ้านปรือคันตะวันออกเป็นการบริหารจัดการโดยชาวบ้านแสนสุข มีคณะกรรมการทั้งหมด 9 คน ตลาดประชารัฐเป็นตลาดแห่งเดียวของจังหวัดศรีสะเกษที่ไม่ได้รับงบสนับสนุนจากภาครัฐ เป็นการบริหารจัดการของชาวบ้านชุมชนแสนสุข ปัญหาที่พบคือ ขาดเงินสนับสนุนจากภาครัฐ สภาพทรุดโทรมของอาคารที่ใช้เป็นตลาดและบริเวณของตลาดสถานที่จอดรถแคบและการจัดการตลาดยังไม่เป็นระเบียบ ต้องการเทคอนกรีตพื้นตลาด ขยายอาคารตลาด ปรับปรุงลานจอดรถ และปรับปรุงห้องสุขาให้สะอาดน่าใช้ต้องการให้จัดระเบียบการจราจร การจัดระเบียบภายในตลาดและติดชื่อร้าน และความต้องการของผู้บริโภคต้องการให้เพิ่มสินค้าสำหรับเลือกซื้อให้มากขึ้นและอาหารทะเล

References

กฤษณะ ดาราเรือง. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์ทางการตลาดวิสาหกิจชุมชนบ้านเขาแหลม จังหวัดนครสวรรค์. มหาวิทยาลัยราชภัฎเจ้าพระยา.วารสารสุทธิปริทัศน์.

เกวลิน ช่วยบำรุง. (2554). ปัจจัยทางการตลาดผ่าน Mobile Marketing ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กระทรวงมหาดไทย. (2560). คู่มือ แนวทางการดำเนินโครงการตลาดประชารัฐ .

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2550). มาตรฐานตลาด. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย.

คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด. (2555). หลักการตลาด. กรุงเทพมหานคร: บริษัททริปเพิ้ลเอ็ดดูเคชั่น จำกัด การพิมพ์.

ชนการต์ วิชาศิลป์. (2551). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการตลาดสดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา: เทศบาลตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. ปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชินพันธ์ พัวรุ่งโรจน์. (2551). พฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าในร้านสะดวกซื้อในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ทัศนา หงษ์มา. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการตลาด กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้บริโภคในตลาดนัดคลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.

ธารนันท์ สุโนภักดิ์และดร.มนตรี วิบูลยรัตน์. (2557). ปัจจัยด้านการตลาดบริการและพฤติกรรมที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ สินค้านำเข้าภายในซุปเปอร์มาร์เก็ต ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.) 2.

วาสนา อินทะแสง. (2559). การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจคลินิกเสริมความงามที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้า. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ผศ.ดร. ปราโมทย์ ยอดแก้ว. (2559). ประชารัฐ : การตลาดตามวิถีพุทธ. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. วารสารศึกษาปริทัศน์ มจร. ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ.

ภัทราพร ชูทอง. (2553). แนวทางการพัฒนาการจัดการตลาดสดเทศบาลตำบลเขาพนม อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่. ปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น.วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

รุ้งตะวัน สินธุ์ลือนามและวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2560). การจัดการและกลยุทธ์การแข่งขันทางการตลาดของตลาดริมหน้าวัดดอนหวายในอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสาร Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย.

วลัยลักษณ์ อุทยวัฒนานนท์. (2553). การบริหารจัดการตลาดสดให้เป็นตลาดมาตรฐานของเทศบาลเมืองพิจิตร อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร. ปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิภาวี อัครบวร. (2552) การรับรู้กิจกรรมทางการตลาดของภาครัฐที่มีผลต่อแนวโน้มการใช้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เศรษฐิการ จิตกาลดำรง. (2557). การจัดการตลาดสดจะนะ จังหวัดสงขลาตามทัศนะของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ.. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธีระฟิลม์และไซเท็กซ์ จำกัด..

สรรควร สัตยมงคล. (2551). การจัดการตลาดนัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒตามทัศนะของผู้จำหน่ายสินค้าและผู้บริโภค.ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สาคร สุขศรีวงศ์. (2550). การจัดการ: จากมุมมองนักบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ จี พี โซเบอร์พรินท์.

สิทธ์ ธรสรณ์. (2551). การตลาดจากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุปัญญา ไชยชาญ. (2551). การบริหารการตลาด กรุงเทพมหานคร: บริษทั พี.เอ.ลิฟวิ่ง จำกัด

สุมิตรา กันธะวงค์. (2552). พฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษจากเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุรีวัลย์ สารีบุตร. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งเสลี่ยม อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย.ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-27

How to Cite

แช่มชื่น จ. . . (2022). การบริหารจัดการตลาดประชารัฐ กรณีศึกษาตลาดประชารัฐบ้านปรือคันตะวันออก ตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 4(2), 126–138. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/1083