วัฒนธรรมความกลัว: ผี ความรู้ และการรับรู้ในภาพยนตร์ผีไทย

ผู้แต่ง

  • ธนวัฒน์ ปัญญานันท์ สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นฤมล ธีรวัฒน์ คณะมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมความกลัว, ผี, การประกอบสร้าง, การรับรู้, ภาพยนตร์ผีไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำเสนอภาพวัฒนธรรมความกลัว(ผี) ในสังคมไทยผ่านภาพยนตร์ผีไทยจำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่องนางนาก (2542) และบ้านผีปอบ Reformation (2554) โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองเรื่องวัฒนธรรม ของอารมณ์ความรู้สึกของซาร่า อาเมดเป็นข้อสนับสนุนหลัก ประกอบกับการศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและความทรงจำเกี่ยวกับผี ภาพยนตร์ที่คัดสรรทั้งสองเรื่องชี้ ให้เห็นว่าความกลัวผีเป็นสิ่งสัมพัทธ์ ตัวละครสามารถแปรเปลี่ยนระหว่างความกลัวกับ ความไม่กลัวผีผ่านการรับรู้ใหม่ เนื่องจากผีมีปฏิบัติการในการหลอกหลอนมนุษย์ที่แตกต่างกันซึ่งสัมพันธ์กับพฤติกรรมของมนุษย์ นอกจากนี้ความกลัวยังสามารถถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างอำนาจให้กับคนบางกลุ่มและกีดกันคนบางกลุ่มได้ ความกลัวผีจึงเกิดขึ้นจาก การประกอบสร้างทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับผี ที่ไหลเวียนอยู่ในสังคม

References

กชกร โพธิหล้า. (2555). การศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลความเชื่อเรื่องผีปอบที่มีความสัมพันธ์กับพิธีกรรมทางพุทธศาสนา: กรณีศึกษา บ้านดอนยานาง จังหวัดกาฬสินธุ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กมเลศ โพธิกนิษฐ. (2555). การทำให้เป็น ผีปอบ และการกีดกันทางสังคมในมุมมอง. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 10(2), 121-143.

กัญญา วัฒนกุล. (2560, 11 มกราคม). ปอบ: งมงายหรือเรื่องจริง?. https://www.youtube.com/watch?v=zZ4IvkWyhFE

ชนกพร ชูติกมลธรรม. (2560). “ภาพสยดสยอง : ความอุจจารและบทบาทที่ซับซ้อนในเชิงศีลธรรม ในสังคมไทย” ใน เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์ เล่ม 2.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2548). หนังผีไทยกับภาพสะท้อนทางสังคมและสิ่งแวดล้อม. วารสารอักษรศาสตร์, 34(2), 140-166.

ธนัท อนุรักษ์. (2555). มโนทัศน์และการสร้างความกลัวในสื่อบันเทิงคดีสยองขวัญไทย[วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2541). ยุคสมัยไม่เชื่ออย่าลบหลู่. แพรว.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). โขน คาราบาว น้ำเน่าและหนังไทย : ว่าด้วยเพลง ภาษา และนานามหรสพ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มติชน.

มาลา คำจันทร์. (2559). เล่าเรื่องผีล้านนา (พิมพ์ครั้งที่ 3). เคล็ดไทย.

จิธิวดี วิไลลอย. (2559). การประกอบสร้างความหมายผีในละครโทรทัศน์ไทย. นิเทศศาสตรปริทัศน์, 20(1), 20-34.

เสฐียรโกเศศ. (2515). เมืองสวรรค์ และผีสาง เทวดา. บรรณาคาร.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2555). เจ้าที่และผีปู่ย่า: พลวัตของความรู้ชาวบ้าน อำนาจและตัวตนของคนท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อาสา คำภา. (2557). ปู่แสะย่าแสะกับประเพณีเลี้ยงผีเมืองเชียงใหม่. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 6(2), 99-122.

อัญชลี ชัยวรพร. (2559). ภาพยนตร์ในชีวิตไทย มุมมองของภาพยนตร์ศึกษา. ภาพพิมพ์.

Frank Furedi. (1997). Culture of Fear: Risk-Taking and the Morality of Low Expectation. Cassell.

Brian Morris. (2006). Religion and Anthropology: A Critical Introduction.Cambridge University Press.

Eman Mosharafa. (2015). All you Need to Know About The Cultivation TheoryIn Global”, Journal of HUMAN-SOCIAL SCIENCE: A Arts & Humanities –Psychology, 15(8), 22-37.

Frantz Fanon. (1986). Black Skin, White Masks, trans. C. L. Markmann. Pluto Press.

Nationalgeographic. (2015). The Science of Fear. http://www.nationalgeographic.com.au/brain/the-science-of-fear.aspx

Sara Ahmed. (2014). The Cultural Politics of Emotion (2nd ed.). Edinburgh University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-27

How to Cite

ปัญญานันท์ ธ. ., & ธีรวัฒน์ น. . (2022). วัฒนธรรมความกลัว: ผี ความรู้ และการรับรู้ในภาพยนตร์ผีไทย . วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 5(2), 121–143. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/1164