ผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตโดยการบูรณาการการเรียน การสอนกับการทำงานของหลักสูตรภาษาไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ผู้แต่ง

  • เบญจมาภรณ์ สุริยาวงศ์ โปรแกรมวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • บุษราคัม ยอดชะลูด โปรแกรมวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • อรทัย ขันโท โปรแกรมวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

คำสำคัญ:

การจัดกิจกรรม, พัฒนาสมรรถนะบัณฑิต, การบูรณาการการเรียนการสอน กับการทำงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการจัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตโดยการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานของหลักสูตรภาษาไทย 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตโดยการบูณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาเอกวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยชั้นปีที่ 1 จำนวน 10 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในระดับดีมาก สามารถผลิตสื่อส่งเสริมการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาจากเรื่องเล่า ตำนาน นิทานของท้องถิ่นจำนวน 20 เรื่อง และตอบสนองความต้องการและแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก

References

เจียมจิต แสงสุวรรณ. (2558). การจัดการเรียนการสอนแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน Community Based Learning. ในโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประจำปี 2558. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ฉวีวรรณ สุวรรณาภา. (2558). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อเสริมทักษะการคิด ในรายวิชาสัมมนาสังคมศึกษา ของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 3(2), 1-19.

ปานเพชร ชินินทร, และวิเชษฐ์ พลายมาศ. (2553). การศึกษาปัจจัยสู่ความสำเร็จของการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานสำหรับอุดมศึกษาไทย (Work integrated Learning: WiL). รายงานการประชุมวิชาการครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม วันที่ 7-8 ธันวาคม 2553, 1056-1063.

มณฑล จันทร์แจ่มใส. (2558). โครงการถอดชุดประสบการณ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : กรณีศึกษา การบูรณาการการจัดการเรียนรู้วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมกับการพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 10(1), 143-156.

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564 ) ฉบับทบทวนและปรับปรุง พ.ศ. 2561. https://www.crru.ac.th/2021/assets/report_file/CRRU_Plan60-64.pdf

ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์. (2557). กระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อลงกต ยะไวทย์ และคณะ. (2562). การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยการสร้างสภาวะแวดล้อมการเรียนด้วยการทำงานในสภาพจริง. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.): เครือข่ายพัฒนา สหกิจศึกษาภาคใต้ตอนบน. https://www.ubu.ac.th/web/files_up/00046f2019071017175859.pdf.

Mthembu, S., Mtshali, N., & Frantz, J. (2014). Contextual determinants for community-based learning programmes innursing education in south Africa. South African Journal of Higher Education, 28(6), 1795-1813.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-26

How to Cite

สุริยาวงศ์ เ. ., ยอดชะลูด บ. ., & ขันโท อ. . (2022). ผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตโดยการบูรณาการการเรียน การสอนกับการทำงานของหลักสูตรภาษาไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 6(2), 104–120. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/1251