แนวทางการเพิ่มมูลค่าและการสร้างรายได้วัฒนธรรมผ้าทอมือชุมชนโปยจาร์ อำเภอพนมซร็อก จังหวัดบันทายมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา

ผู้แต่ง

  • khiev sangvavann มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • อัครเดช สุพรรณฝ่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สุรีย์ฉาย สุคันธรัต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

คำสำคัญ:

การเพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้, ผ้าทอมือ, โปยจาร์, กัมพูชา

บทคัดย่อ

เรื่องแนวทางการเพิ่มมูลค่าและการสร้างรายได้วัฒนธรรมผ้าทอมือชุมชนโปยจาร์ อำเภอพนมซร็อก จังหวัดบันทายมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตและการจำหน่ายของผ้าทอมือและแนวทางการสร้างรายได้จากวัฒนธรรมผ้าทอมือ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัย พบว่า การผลิตปัจจัยสำคัญประกอบด้วยเส้นไหมและเส้นด้าย ออกแบบผลิตภัณฑ์ถูกกำหนดรูปแบบจากต้นสังกัดและการออกแบบเอง การจัดจำหน่ายจะจัดจำหน่ายโดยบริษัทและกลุ่มจัดหน่ายเอง การส่งเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ์นั้น
บริษัทส่งเสริมและกลุ่มดำเนินการส่งเสริมเอง และแนวทางการสร้างรายได้จากวัฒนธรรม
ผ้าทอมือชุมชนโปยจาร์ อำเภอพนมซร็อก จังหวัดบันทายมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา
ควรมุ่งเน้นทั้งกระบวนการของการผลิตและผลผลิต การจัดจำหน่ายและการส่งเสริมการตลาดเป็นสำคัญ

References

สถาบันวิจัยหม่อนไหม. (2547). การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

สุภางค์ จันทรวานิช. (2550). การวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษวิทยา. สำนักงานพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สารภี วรรณตรง. (2560). การพัฒนาเครือข่ายแหล่งเรียนรู้ผ้าทอมือจังหวัดสุรินทร์ บันทายมีชัยและแขวงจำปาศักดิ์. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

พรพิธ พัฒนกุล. (2550). ต้นทุนและผลตอบแทนการทอผ้าของกลุ่มสตรีทอผ้า กรณีศึกษาบ้านก้างปลา ตำบลชัยพฤกษ์ อำเภอเมือง จังหวัดเลย. สาขาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ระพีพรรณ แสนกันหา (2551). การพัฒนากลุ่มสตรีทอผ้าตามแนววิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษากลุ่มสตรีทอผ้าบ้านเชิงดอย [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วิระศักดิ์ จุลดาลัย. (2548). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ามุกเพื่อศึกษาปัญหาที่ส่งผลกระทบให้คุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้ามุก ชุมชนวัดสว่างสุวรรณาราม อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

ศิริขวัญ ดวงแก้ว. (2552). แนวทางการจัดการกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านผา อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

Ministry of Commerce of Cambodia. (2016). Khmer Silk strategy 2016-2020. ASEAN-Japanese Centre.

Falls, S. & Smith, J. (2011). Branding Authenticity: Cambodian Ikat in Transnational Artisan Partnerships (TAPs). Cambridge.

Sokmean, S. (2018). The Revival of Khmer Traditional Hol Pidan. http://sovrinmagazine.com/site/view_article?artid=338 Date of searching 13 Jan 2019

The Bangkok inside editorial team. (2561.). กัมพูชาทำสถิติกินเนส’กร็อมา’ทอมือยาวสุดในโลก. https://www.thebangkokinsight.com/news/world-news/20951/

International trade center. (2016). Cambodia National Silk Strategy 2016-2020. Geneva: ITC.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28

How to Cite

sangvavann, khiev, สุพรรณฝ่าย อ., & สุคันธรัต ส. (2023). แนวทางการเพิ่มมูลค่าและการสร้างรายได้วัฒนธรรมผ้าทอมือชุมชนโปยจาร์ อำเภอพนมซร็อก จังหวัดบันทายมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 7(2), 18–39. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/1758