แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐของที่ทำการปกครองอำเภอในจังหวัดชุมพร
คำสำคัญ:
แนวทางการพัฒนา, สมรรถนะดิจิทัล, บุคลากรภาครัฐ, ที่ทำการปกครองบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับสมรรถนะด้านดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐของที่ทำการปกครองอำเภอในจังหวัดชุมพร 2) เปรียบเทียบสมรรถนะด้านดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐของที่ทำการปกครองอำเภอในจังหวัดชุมพร 3) หาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรภาครัฐของ
ที่ทำการปกครองอำเภอในจังหวัดชุมพร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อหาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ
ผลการวิจัยพบว่า ระดับสมรรถนะดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐของที่ทำการปกครองอำเภอในจังหวัดชุมพร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านคุณลักษณะ ( = 4.51, S.D. = 0.52) รองลงมา ได้แก่ ด้านความรู้ (
= 4.00, S.D.= 0.51) อยู่ในระดับมาก และด้านทักษะด้านที่มีระดับต่ำที่สุด (
= 3.95, S.D. = 0.41) อยู่ในระดับมาก สำหรับแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐนั้นก็คือการเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ รวมทั้งการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องและการสนับสนุนจากองค์กร
References
ปกครองจังหวัดชุมพร. (2566). ข้อมูลบุคลากรภาครัฐในที่ทำการอำเภอในจังหวัดชุมพร. ที่ทำการปกครองจังหวัดชุมพร.
พิศิษฐ ตัณฑวณิช และ พนา จินดาศรี. (2561). ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พัณฉิน อินทรรักดี. (2562). สมรรถนะและการพัฒนาบุคลากรสายงานทรัพยากรบุคคลในยุค Digital HR ของพนักงานรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง [ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). กรอบสมรรถนะด้านดิจิทัลสำหรับพลเมืองไทย. มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถิติการใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยแบ่งตามสถานภาพการทำงาน. https://catalog.nso.go.th/dataset/0505_16_1812?activity_id=da21a845-f7eb-459f-88c2-009277d21363
Ala-Mutka, K. (2011). Mapping Digital Competence: Towards a Conceptual Understanding. http://ftp.jrc.es/EURdoc/JRC67075_TN.pdf
Cronbach. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). Harper Collins Publishers. https://archive.org/details/essentialsofpsyc00cron/page/n15/mode/2up
Dweck, C. S. (2006). Mindset: The New Psychology of Success: How We Can Learn to Fulfil Our Potential. Ballantine. https://www.amazon.com/Mindset-Psychology-Carol-S-Dweck/dp/0345472322
Ferrari, A. (2013). DIGCOMP: A Framework for Developing and Understanding Digital Competence in Europe. https://www.researchgate.net/publication/282860020_DIGCOMP_a_Framework_for_Developing_and_Understanding_Digital_Competence_in_Europe
McClelland, D. C. (1974). Testing for Competence rather than for ‘Intelligence’: Reply. American Psychologist, 29(1), 59.
Punie, Y., & Redecker, C. (2017). European Framework for the Digital Competence of Educators: DigCompEdu. https://www.researchgate.net/publication/329191291_European_Framework_for_the_Digital_Competence_of_Educators_DigCompEdu
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.