การเรียนการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบวนซ้ำด้วยเทคโนโลยี ความเป็นจริงเสริม

ผู้แต่ง

  • ประเสริฐ เพ็งแก้ว สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • สลิล บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

คำสำคัญ:

เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม, โครงสร้างพื้นฐานของการเขียนโปรแกรม, การศึกษา

บทคัดย่อ

การเรียนการเขียนโปรแกรมขั้นพื้นฐานผู้เรียนจะต้องเข้าใจหลักการทำงาน
ของโครงสร้างพื้นฐานของการเขียนโปรแกรม  ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างแบบลำดับโครงสร้างแบบทางเลือกและโครงสร้างแบบวนซ้ำ ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้นำเอาเทคโนโลยี
ความเป็นจริงเสริมเข้ามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบวนซ้ำ
ในรูปแบบของเกมกระดานความเป็นจริงเสริม โดยมีการสร้างโจทย์ให้ผู้เรียนวางชุดคำสั่งสำหรับการจัดส่งพัสดุไปยังตำแหน่งบ้านบนเกมกระดาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นผลลัพธ์
ของการเขียนโครงสร้างของโปรแกรมผ่านการจำลองผลลัพธ์ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมจะทำให้ผู้เรียนดูว่าตรรกะของโปรแกรมนั้นถูกต้องหรือไม่ ในงานวิจัยชิ้นนี้จะแสดงถึงประสิทธิภาพความถูกต้องในการทำงานของโปรแกรมสำหรับการนำไปใช้งานเกี่ยวกับ
การเรียนการการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบวนซ้ำได้ในระดับที่พึงพอใจสามารถนำไปทดลองใช้สอนกับผู้เรียน

References

โชติพันธ์ หล่อเลิศสุนทร. (2554). คู่มือเรียน เขียนโปรแกรม Python (ภาคปฏิบัติ). คอร์ฟังก์ชั่น.

Boonbrahm, S., Boonbrahm, P., Kaewrat, C., Pengkaew, P., & Khachorncharoenkul, P. (2019). Teaching fundamental programming using augmented reality. International Journal of Interactive Mobile Technologies, 13(7), 31–43. https://doi.org/10.3991/ijim.v13i07.10738

Harms, K. J., Rowlett, N., & Kelleher, C. (2015). Enabling independent learning of programming concepts through programming completion puzzles, Proceedings of IEEE Symposium on Visual Languages and Human-Centric Computing, VL/HCC, 2015-December (pp. 271–279). https://doi.org/10.1109/VLHCC.2015.7357226

Mathrani, A., Christian, S., & Ponder-Sutton, A. (2016). PlayIT: Game Based Learning Approach for Teaching Programming Concepts. In Educational Technology & Society, 19(2), 5-17.

Matsutomo, S., Manabe, T., Cingoski, V., & Noguchi, S. (2017). A Computer Aided Education System Based on Augmented Reality by Immersion to 3-D Magnetic Field. IEEE Transactions on Magnetics, 53(6), 1-4. https://doi.org/10.1109/TMAG.2017.2665563

Ouahbi, I., Kaddari, F., Darhmaoui, H., Elachqar, A., & Lahmine, S. (2015). Learning Basic Programming Concepts by Creating Games with Scratch Programming Environment. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 191(1), 1479–1482. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2015.04.224

Patel, T., Nelson, B., & Walker, E. (2017). Learning Object Oriented Programming Using Augmented Reality A Case Study with Elementary School Students CORE View metadata. ASU Digital Repository.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30

How to Cite

เพ็งแก้ว ป. ., & บุญพราหมณ์ ส. . (2023). การเรียนการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบวนซ้ำด้วยเทคโนโลยี ความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 7(1), 145–161. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhuso/article/view/714