ศีลธรรมและการเมือง: การบูรณาการปรัชญา ของโสกราตีส เพลโต และอริสโตเติล
คำสำคัญ:
ศีลธรรม, การเมือง, ปรัชญา, รัฐในอุดมคติบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ศีลธรรมและการเมือง ผ่านแนวคิดของ โสเครตีส เพลโต และอริสโตเติล ซึ่งเน้นว่าคุณธรรมของผู้นำและความยุติธรรมในสังคมเป็นรากฐานสำคัญของรัฐที่มั่นคง โสเครตีส เชื่อว่าผู้นำต้องมีคุณธรรมและปัญญา โดยใช้ กระบวนการสอบถามและแลกเปลี่ยน (วิธีการของโสกราตีส) เพื่อแสวงหาความจริงและพัฒนาจิตสำนึกทางศีลธรรม เพลโต ขยายแนวคิดนี้ไปสู่โครงสร้างรัฐ โดยเสนอ รัฐในอุดมคติ ที่มีการแบ่งหน้าที่ชัดเจนระหว่างผู้ปกครอง นักรบ และผู้ผลิต เพื่อให้เกิดความสมดุลทางสังคม อริสโตเติล ปรับแนวคิดนี้ให้เข้ากับสภาพความเป็นจริง โดยเสนอ ระบอบผสม (Mixed Government) ที่รวมประชาธิปไตยและคณาธิปไตยเข้าด้วยกันเพื่อลดการใช้อำนาจโดยมิชอบ การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า ศีลธรรมและการเมืองต้องดำเนินควบคู่กัน ผู้นำที่มีคุณธรรม ระบบการปกครองที่มีความสมดุล และการกระจายอำนาจอย่างเหมาะสม จะช่วยให้รัฐมีเสถียรภาพและประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี แนวคิดของนักปรัชญาเหล่านี้ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในยุคปัจจุบัน เพื่อสร้างระบบการเมืองที่ยุติธรรมและยั่งยืน
References
ไกอุส. (2566). ‘การธำรงรักษารัฐ’ ด้วยการไม่ละเมิดกฎหมาย และการสำนึกในบุญคุณของประเทศในสังคมกรีกโบราณ. สืบค้น 3 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/SxwIT
พระครูเกษมวัชรดิตถ์ (เกษม ฐิติสมฺปนฺโน). (2566). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อเสริมสร้างการตัดสินใจไปเลือกตั้งสมาชิกสภาและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลของประชาชนในจังหวัดลำปาง. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 7(6), 200-211.
พระประเสริฐ เตชโก. (2564). ปรัชญาการเมืองยุคคลาสสิก. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(2), 364-372.
บ้านจอมยุทธิ์. (มปป.). ปรัชญาการเมือง. สืบค้น 7 มกราคม 2568, จาก https://shorturl.asia/5jmu0
Acemoglu, D., & Robinson, J. A. (2013). Why nations fail: The origins of power, prosperity, and poverty. London: Profile Books.
Annas, J. (1999). Platonic Ethics, Old and New. New York: Cornell University Press.
Aristotle. (1998). Politics (C. D. C. Reeve, Trans.). Indianapolis: Hackett Publishing.
Keyt, D. (1991). Aristotle: Politics Books V and VI. England: Clarendon Press.
Kraut, R. (1984). Socrates and the State. New Jersey: Princeton University Press.
Miller, F. D. (1995). Nature, Justice, and Rights in Aristotle's Politics. New York: Oxford University Press.
Plato. (2003). The Republic (C. D. C. Reeve, Trans.). Indianapolis: Hackett Publishing.
Reeve, C. D. C. (2000). Action, Contemplation, and Happiness: An Essay on Aristotle. USA: Harvard University Press.
Transparency International. (2024). Corruption perceptions index 2023. Retrieved December 12, 2024, from https://shorturl.asia/OIGc1
Vlastos, G. (1991). Socrates: Ironist and Moral Philosopher. UK: Cambridge University Press.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.