แนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำของนักการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระอธิการประเสริฐ ปญฺญาวโร นักวิชาการอิสระ
  • จักรวาล เหมือนแจ่ม นักวิชาการอิสระ
  • สัภยา ขาวหมื่นไวย์ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, นักการเมือง, ปาปณิกธรรม

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำของนักการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา ซึ่งภาวะผู้นำที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสังคมที่มีความเข้มแข็งและเป็นธรรม บทความนี้มุ่งเน้นการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้หลักธรรมในพระพุทธศาสนา คือ หลักปาปณิกธรรม เพื่อส่งเสริมภาวะผู้นำของนักการเมืองไทยในยุคปัจจุบัน พบว่า การประยุกต์หลักธรรมในพระพุทธศาสนาสามารถเสริมสร้างภาวะผู้นำที่มีคุณธรรมและเป็นธรรม โดยเฉพาะในเรื่องของความซื่อสัตย์ ความเมตตา และความเสียสละ บทความได้นี้เสนอแนวทางในการประยุกต์หลักธรรมเพื่อส่งเสริมภาวะผู้นำของนักการเมืองไทย คือ หลักปาปณิกธรรม ที่กล่าวถึงลักษณะของผู้นำที่ดีไว้ 3 ประการ คือ 1. จักขุมา มองการณ์ไกลหรือมีมุมมองที่กว้างกว่าบุคคลทั่วไปในองค์กร 2. วิธูโร มีการจัดการธุระได้ดี และ 3. นิสสยสัมปันโน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เข้ากับคนในองค์กรหรือประชาชนได้ดีมีความอ่อนน้อมถ่อมตน

References

เถาวัลย์ นันทาภิวัฒน์. (2521). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิตย์ สัมมาพันธ์. (2546). ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

เนตร์พัณณา ยาวิชรา. (2552). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ทริปเปิ้ลกรุ๊ป.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2552). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ (ฉบับประมวลธรรม). กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ยงยุทธ เกษสาคร. (2541). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารและตำราสถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

ศลิษา พิบูลย์สวัสดิ์. (2567). พุทธบูรณาการพัฒนาระบบการนำเข้าเครื่องสำอางจากต่างประเทศเพื่อส่งเสริมการตลาดไทยของผู้ประกอบธุรกิจเครื่องสำอาง. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 7(6), 55-67.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2549). การแสวงหาและแนวทงการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารมืออาชีพ กรณีผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ศิริ รุ่งภัทรเศวต. (2567). กระบวนทัศน์รัฐประศาสนศาสตร์ตามแนวพุทธธรรม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 13(3), 415-426.

เศาวนิต เศาณานนท์. (2542). ภาวะผู้นำ. นครราชสีมา: สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.

สถิตย์ กองคำ. (2544). มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหาร. นครราชสีมา: สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.

เสาวนีย์ มิตตะธรรมากุล. (2567). การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการจัดการคลินิกทันตกรรมในกรุงเทพมหานคร. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 7(5), 316-328.

Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1990). Transformational leadership development. California: Consulting Psychologist.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-25

How to Cite

ปญฺญาวโร พ., เหมือนแจ่ม จ. ., & ขาวหมื่นไวย์ ส. (2025). แนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำของนักการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 7(3), 130–141. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/AJPP/article/view/4666