การสอนบูรณาการฐานพุทธศาสตร์ตามแนวคิดมรณศึกษาเพื่อส่งเสริม นักอนาคตศาสตร์รุ่นเยาว์สำหรับผู้เรียนในระบบโรงเรียนไทย

ผู้แต่ง

  • วรินทร สิริพงษ์ณภัทร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภูมิณัฏฐ์ ยงค์พีระกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อรณิชา ชมภูศรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ชรินทร์ มั่งคั่ง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

นักอนาคตศาสตร์รุ่นเยาว์, มรณศึกษา, พุทธศาสตร์, นาโนทัศน์, ระบบโรงเรียนไทย

บทคัดย่อ

ประเด็นสำคัญของการจัดการศึกษา คือ การเตรียมให้ผู้เรียนในระบบโรงเรียนไทยสามารถดำรงชีวิต เป็นยุคสมัยที่สังคมต้องเผชิญกับความซับซ้อนอย่างมาก อันเนื่องมาจาก        การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปรากฏการณ์ทางสังคมมีความซับซ้อนจากประเด็นที่หลากหลาย มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสภาวะสงครามความอดยาก การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ และ ฯลฯ     เพื่อสร้างภูมิคุ้นกันแก่ผู้เรียนในระบบโรงเรียนไทยให้สามารถรับมือต่อความซับซ้อนหรือการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นได้ การสอนบูรณาการแนวคิดมรณศึกษาฐานพุทธศาสตร์ เป็นการจัดการศึกษาที่สร้างกระบวนการเรียนรู้ในประเด็นความตายและการสูญเสีย การพัฒนาจิตใจและอารมณ์ ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัว ตลอดจนความสามารถในการเผชิญสถานการณ์อย่างมีสติและ   มีเหตุผลบนฐาน พุทธศาสตร์ที่สอนให้เข้าใจเกี่ยวกับสภาวะความเป็นจริงของตัวมนุษย์และความสัมพันธ์ของมนุษย์กับความเป็นไปตามธรรมชาติ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเตรียมความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เข้าใจเหตุและปัจจัยของการเกิดขึ้นตั้งอยู่ และดับไปของสรรพสิ่ง ทั้งที่มองเห็นและ      ไม่เห็น ให้มีวิจารณญาณกับสิ่งแปลกใหม่ที่เกิดขึ้น รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งเป็นอีกวิธีการหนึ่งในการส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นนักอนาคตศาสตร์รุ่นเยาว์ เพื่อเตรียมรับมือการสถานการณ์โลกพลิกผันได้อย่างมีคุณภาพ

References

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). เครื่องมือการมองอนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรม แห่งชาติ(องค์การมหาชน).

กานต์ จอมอินตา. (2556). ธรรมาภิวัตน์ : เจริญมรณสติ เผชิญหน้ากับความตายด้วยใจสงบ. สืบค้นจาก MGR Online; https://mgronline.com/dhamma/detail/9560000096637

กิตติชัย สุธาสิโนบล. (2558). การจัดการเรียนการสอนแบบพุทธะ เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน. กรุงเทพฯ: คอมเมอร์เชียล เวิลด์ มีเดีย.

ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2564). การสอนอนาคตวิทยาสำหรับครูสังคมศึกษา [Teaching Futurology for Social Studies Teachers]. เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.

ทัศนีย์ แซ่ลิ้ม. (ตุลาคม, 2561). หมดยุคการศึกษาแบบเหมาโหล เตรียมคนสู่พลเมืองแห่งศตวรรษที่ 22. สืบค้นจาก The KOMMON; https://www.thekommon.co/creating-tomorrows-schools-today/

ทิศนา เขมมณี. (2564). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 25). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬามหาวิทยาลัย.

นาตยา ปิลนัธนานนท์. (2526). อนาคตศาสตร์. กรุงเทพฯ: พีระพัธนา.

ประกายธรรม. (2542). ความตายที่ท่านไม่รู้จัก. กรุงเทพ: ธรรมสภา.

พระมหาศิริพงษ์ ปภสฺสโร (มีศรี). (2563). การศึกษาเปรียบเทียบความจริงของกฎไตรลักษณ์ตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาทกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทางวิทยาศาสตร์ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระศักดิ์ดา งานหมั่น. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสาร สหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1), 1-10.

ราชบัณฑิตสภา. (2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพ ฯ : สํานักงานราชบัณฑิตยสภา.

วรินทร สิริพงษ์ณภัทร. (2566). การเสริมสร้างคุณลักษณะพลเมืองตื่นรู้ของผู้เรียนโดยการตั้งคําถามแบบโสเครติส. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 5(1), EDUCU5101008 (13 pages), doi: 10.14456/educu.2023.8. สืบค้นจาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/EDUCU/ article/view/258400.

วิทย์ วิศทเวทย์. (2553). ปรัชญาทรรศน์: พุทธปรัญชา. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีรยุทธ วิเชียรโชติ. (2548). เทคนิคการเรียนการสอนแบบอารยวิถี ในกระบวนวิธีสืบสวน-สอบสวน เพื่อการพัฒนา “เบญจลักษณะ” ในแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ก้าวใหม่.

สยาม ราชวัตร. (2560). Fundamentals of Buddhism (พิมพ์ครั้งที่3). เชียงใหม่: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุปรีย์ กาญจนพิศศาล. (2560). ความเป็นมาของมรณศึกษา. เอกสารประกอบการสอนวิชาแนวคิดชีวิตและความตาย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล. (อัดสำเนา).

แสง จันทร์งาม. (2535). พุทธศาสนวิทยา. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.

องศาเหนือ. (2567). ฟังเสียงประเทศไทย : ทางเลือกการศึกษาไทย. สืบค้นจาก thecitizen.plus, https://thecitizen.plus/node/71793

อนุช อาภาภิรม. (2553). หยั่งรู้อนาคตหลักการทฤษฎีและเทคนิคอนาคตศึกษา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศูนย์สื่อเพื่อการพัฒนา.

เอมอัชฌา (รัตน์ริมจง) วัฒน์ริมจง. (2554). มรณศึกษา(Death Education). กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์.

Chapple, H. S., Bouton, B. L., Chow, A. Y. M., Gilbert, K. R., Kosminsky, P., Moore, J., et al. (2017). The body of knowledge in thanatology: an outline. Death Stud, 41(2), 118–125.

Corr, C. A., et al. ( 2 0 0 9 ) . Death and Dying, Life and Living (Sixth Edition).

Wadsworth.

Davidson, S. (2017). Futurology in the College Classroom. InSight: A Journal of Scholarly Teaching, 1(13), 51-52.

Eddy, J. M. and Alles, W. F. (1983). Death Education. The C.V. Mosby Company.

Harris W. H. (1978). Some reflections concerning approaches to death education. The Journal of school health, 48(3), 162–165. Retrieved from https://doi.org/10.1111/j.1746-1561.1978.tb07113.x

Mangkhang, C. & Kaewpanya, N. (2021). The Scenarios Perspective of Social Studies Pedagogy to Next Citizenship in the 22nd Century. Turkish Online Journal of Qualitative Inquiry (TOJQI), 12(8), 5172 – 5180.

Meagher, D. J., and Balk, D. E., (2013). Handbook of thanatology. London: Routledge. Transformative Education, 48, 162-165.

Verhoeven, M. (26 January 2022). What is A Buddhist Education?. Dharma Realm Buddhist University. Retrieved from https://www.drbu.edu/news/whatbuddhisteducation?fbclid=IwAR0orxx3lCcKO24LISg3fDgRBVR3Lu-M7qNKOOWlorJxe0eQ_V9wKCD-k5Y.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-06-2025