การพัฒนาผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
การพัฒนาผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
คำสำคัญ:
การพัฒนาผู้นำ, การเปลี่ยนแปลง, ผู้บริหารบทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยยอมรับความแตกต่างและการเปลี่ยนแปลง ซึ่งบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องใช้หลักการบริหารที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ รวมถึงคุณธรรมในการบริหารโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี น่าเคารพ ยกย่อง นับถือ ไว้วางใจ ทำให้ผู้ตามเกิดความเลื่อมใสศรัทธา และประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของบุคลากรทางการศึกษาในการทำงานอย่างเป็นระบบ ตลอดจนการทำงานอย่างสร้างสรรค์โดยผู้บริหารให้คำปรึกษาแนะนำ เปิดโอกาส และส่งเสริมให้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ สำหรับพัฒนางานผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545).กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
ธีรศักดิ์ สารสมัคร. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติราชธานีวิชาการ 5,5 (พฤษภาคม 2563): 348-349.
สุขุม จูสนิท. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
อรวรรณ ภัทรดำเนินสุข. (2564). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Bass, B. M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. London: Collier Mcmillan.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1990). Developing transformational leadership: 1992 and beyond. Journal of European Industrial Training, 5(10), 21-27.
Covey, Stephen R. (2004). The 8th Habit: From Effectiveness to Greatness. New York: Simon & Schuster.
Foster, S.H. (1989). Mobility of Employees and Managerial Prerogative. The Modern Law Review, 52: 251-260. https://doi.org/10.1111/j.1468-2230.1989.tb02822.x
Gibson, James L., Ivancevich, John M. and Donnelly, James H. (2000). Organizations: Behavior Structure Process. Boston: McGraw-Hill.
Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (1991). Educational administration, theory, research and practice. New York: McGraw-Hill.
Kent T, Johnson JA, Graber DR. (1996). Leadership in the formation of new health care environments. Health Care Superv. 1996 Dec;15(2):27-34. PMID: 10162812
Kotter, J.P. (1990). A Force for Change (New York: Free Press, 1990), 25.
Kotter, J.P. (1996). Leadership Change, 1st ed. (Boston: Harvard Business School Press, 1996), 21.
Leithwood, K. (1999). Doris Jantz and Rosanne Steinbach, Changing Leadership for Changing Time (Buckingham: Open University Press, 1999), 57
Oke, Adegoke., Munshi, Natasha. & Walumbwa, Fred O. (2009). The Influence of Leadership on Innovation Processes and Activities. Organizational Dynamics, 38(1), 64-72.
Maria Sloane. (2014). Transformational Leadership Is Crucial. (online), accessed 11 March 2014. Available from http://www.marlasloane.com/transformationalleadership/index.php
Manaasse A.L. (1986). Vision and Leadership: Paying attention to intention, Journal of Education, 63(1), 1986): 150-173
Muchinsky, P. M. (1997). Psychology applied to work: An introduction to industrial andorganizational psychology (5th ed.). Thomson Brooks/Cole Publishing Co.
Richard Simon and Max Schuster. (1982). “Webster’s New World Dictionary,” 1982, 794. 50
Subir Clowdbury. (2000). The Nature of Leadership (New York: Management Financial Times Prentice-Hall, 2000), 280.
Yukl, Gary A. (1998). Leadership in organizations. (4th ed.). New Jersey: Prentice. Hall.