ครูปฐมวัยคิดอย่างสร้างสรรค์ : ตามรอยศาสตร์พระราชา

ครูปฐมวัยคิดอย่างสร้างสรรค์ : ตามรอยศาสตร์พระราชา

ผู้แต่ง

  • กุลนาถ ปังศรี -

คำสำคัญ:

ความคิดสร้างสรรค์, ศาสตร์พระราชา, ครูปฐมวัย

บทคัดย่อ

ความคิดสร้างสรรค์ เป็นทักษะที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในศตวรรษที่ 21 ที่ควรส่งเสริมให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถการคิดริเริ่มทำสิ่งใหม่ คิดคล่องแคล่วในสถานการณ์ต่าง คิดยืดหยุ่นทดแทนสิ่งที่ขาดหาย และคิดละเอียดลออในการทำงาน โดยการตามรอยศาสตร์พระราชาด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด ทำ แสดงความคิดเห็น เพื่อค้นหาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ตามศาสตร์พระราชาจนสามารถพัฒนาไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์

References

กมลรัตน์ ลันไธสง. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ตามศาสตร์พระราชา เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด: การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: เพชรเกษมการพิมพ์.

ฉันทนา ภาคบงกช. 2554. ความคิดสร้างสรรค์เพื่อแผ่นดิน : คิดสร้างสรรค์ – แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิมพ์ดี.

เดชา ปุญญบาล. (2560). 9 ตามรอยบาทศาสตร์พระราชา. วารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2560. 13-20.

ทรงสิริ วิชิรานนท์ และคณะ. (2561). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนด้วย สื่อสังคมออนไลน์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

บรรจง อมรชีวิน. (2556). Thinking School สอนให้คิด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

ปิยะนันท์ หิรัณย์ชโลทร. (2557). เอกสารประกอบการสอนการคิด. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประชาชาติธุรกิจ. (2560). หลักการทรงงานในหลวง ร.9 บริหารคน-บริหารองค์กรยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563, สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/rama9royalfuneral/news-60274

พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬา ลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรทิพย์ ศิริภัทราชัย. (2556). STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2558). ศาสตร์การคิด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,

วยุรี วงค์สมศรี. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทย สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้น (บูรณาการ). ขอนแก่น: โรงเรียนขามแก่นนคร.

สุคนธ์ สินธพานนท์ วรรัตน์ และคณะ. (2551). พัฒนาทักษะการคิด.พิชิตการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.

สถาพร อยู่สมบูรณ์. (2560). ระบบการเรียนรู้วิศวกรรมฝังตัวบนสังคมคลาวด์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และผลงานสร้างสรรค์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สมใจ สืบเสาะ. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบสร้างสรรค์เชิงหรรษาบนเว็บ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สุวิทย์ มูลคำ. (2550). กลยุทธ์การสอนคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด.

อารี พันธ์มณี. (2557). ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

Guilford. (1977). Way Beyond the IQ. New York : Creative Education Foundation Inc.

WHO ประเทศไทย. (2563). รายงานสถานการณ์โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ประเทศไทย – 12 มี.ค. 2563. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563, สืบค้นจาก https://www.who.int/ docs/default-source/searo/ thailand/2020-03-12-tha-sitrep-19-covid19-pb- th.pdf?sfvrsn=1e179bd4_2.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30