การพัฒนาหลักสูตรเสริมร่วมกับการโค้ชที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาไทย เพื่อการสื่อสารของครูโรงเรียนวัชรวิทยา
Keywords:
การพัฒนาหลักสูตรเสริม, การโค้ช, ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารAbstract
A Research Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements in the subject of Seminar in Research Methodology in Mixed Method Research and the subject of Curriculum Development and Implementation for Doctor of Philosophy Department of Curriculum and Instruction. The purposes were to: 1) To development of enrichment curriculum with coach for developing the Thai language communication ability of the teacher at Watcharawittaya School and 2) To evaluate the effectiveness of the enrichment curriculum with coach for developing the Thai language communication ability of the teacher at Watcharawittaya school, Has a specific objective: 2.1) To study the ability to use Thai language positively for learning management of teachers at Watcharawitthaya school compared to efficiency criteria and 2.2) To study the ability to use Thai language for the work of teachers at Watcharawitthaya school. The target group is Teacher at Watcharawittaya school Mueang Kamphaeng Phet district, Kamphaeng Phet province, with prior teaching experience of less than 5 years, in the first semester of the 2023 academic year, a total of 16 people. The research instruments composed of a enrichment curriculum with coach for developing the thai language communication ability of the teacher at Watcharawittaya school, an observation of positive Thai communication behavior oriented to learning management and an observation of Thai language of the work. The data was analyzed by population mean, population standard seviation and content analysis. The results were as follows 1. The enrichment curriculum with coach for developing the Thai language communication ability of the teacher at Watcharawittaya school consisting of 1) the origin and importance of curriculum development, 2) the aims of the curriculum, 3) content, 4) organizing knowledge enhancing activities by organizing knowledge enhancing activities in 3 phases as follows: Phase 1: Workshop training is a process. Develop teachers to have knowledge and understanding about positive Thai communication for learning management and Thai communication for work. and the ability to communicate in Thai for work. Phase 2: Coaching by experts is to develop teachers to have the ability to communicate positively in Thai for learning management. by experts and phase 3: field practice and evaluation of performance, 5) supplementary curriculum materials together with coaching, 6) duration, 7) location, 8) curriculum evaluation, 9) curriculum effectiveness criteria, 10) definition of specific terms and 11) plans for organizing extra-curricular activities with coaching. 2. The effectiveness of the enrichment curriculum with coach for developing the Thai language communication ability of the teacher at Watcharawittaya school indicated that 2.1) The ability to use Thai language positively for learning management of teachers at Watcharawitthaya school had an average score of 19.60, accounting for 98.02 percent, higher than the performance criteria of 80 percent. 2.2) The Overall’s ability to use Thai language for the work of teachers at Watcharawitthaya school is at a good level
References
ขวัญเกื้อ แสงแก้ว. (2565). การพัฒนารูปแบบการโค้ชโดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทย ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(2), 53-66.
ชลทิชา ปั้นศรีนวล สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล และณัฐพล รำไพ. (2566). การฝึกอบรมออนไลน์ด้วยการนำตนเองเพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะปฎิบัติ เรื่อง การพิมพ์หนังสือราชการ สำหรับบุคลากรสายสนับสนุน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 7(1), 154-166.
ณัฐรัตน์ แท่นทอง วรรณพร บุญส่ง กัญชพร พรหมจักศร และจุไรรัตน์ รัตติโชติ. (2563). การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการที่ว่าการอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการสังคมมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 10(1), 83-102.
ธนู ทดแทนคุณ. (2564). ปัญหาในการเขียนหนังสือราชการของเจ้าหน้าที่รัฐ ส่วนราชการในเขตกรุงเทพมหานคร ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2562. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(1), 80-91.
ปทิตตา มาตย์วังแสง. (2566). การศึกษาสภาพปัญหาการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 5(2), 15-25.
พิบูลย์ ตัญญบุตร, พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี และจิราภรณ์ พจนาอารีย์วงศ์. (2566). ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย เพื่อการสื่อสารของครูที่ยังไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 13(1), 1-17.
มารุต พัฒผล. (2558). เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชา การโค้ชเพื่อการรู้คิด Module 14 การให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ
วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ช: การพัฒนาวิชาชีพ ทฤษฎีกลยุทธ์สู่ การปฏิบัติ.(พิมพ์ครั้งที่ 12). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2558). การโค้ชเพื่อการรู้คิด (Cognitive Coaching). (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.
วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (2558). จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา: กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2562). กระบวนการโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2564). มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานตามวิทยฐานะของข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา. ที่ ศธ.0206.4/ ว 3
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (ม.ป.ป.) คู่มือการดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งครู ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : https://otepc.go.th/images/00_YEAR2564/03_PV1/1Mv9-2564.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2567.
สุวิมล สพฤกษ์ศรี. (2561). ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพโดยผสมผสานเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้โดยใช้ศิลปะเป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2232. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2567.
