การพัฒนาทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนา โดยใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนควนโดนวิทยา จังหวัดสตูล การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ 2) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนหลังจากใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) ประเมินพัฒนาการทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนภายหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ

Main Article Content

Nasweeta Piriyah

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ 2.) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนหลังจากใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3.) ประเมินพัฒนาการทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนภายหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน โรงเรียนควนโดนวิทยา จังหวัดสตูล ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ, แบบฝึกทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนา และแบบวัดทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่, ร้อยละ (%), ค่าเฉลี่ย (), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D), คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์, สถิติทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระจากกัน (T-Test for Dependent Samples) และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบทีแบบ 1 กลุ่ม (One Sample T-Test)                


        การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ 2) เปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนหลังจากใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) ประเมินพัฒนาการทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนภายหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน โรงเรียนควนโดนวิทยา จังหวัดสตูล ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ, แบบฝึกทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนา และแบบวัดทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่, ร้อยละ (%), ค่าเฉลี่ย ( ), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D), คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์, สถิติทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระจากกัน (T-Test for Dependent Samples) และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบทีแบบ 1 กลุ่ม (One Sample T-Test)                


        ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาหลังจากใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนหลังจากใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการประเมินพัฒนาการทักษะการเขียนความเรียงเชิงบรรยายและพรรณนาของนักเรียนภายหลังการใช้เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะ พบว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์โดยรวมเฉลี่ยเท่ากับ 56.63 อยู่ในระดับสูง

Article Details

บท
Academic article
Share |

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

จิราพร บุดดีอ้วน. (2564). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะเรื่องมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อส่งเสริมทักษะ

การเขียนประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านหนองบัวงาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาบึงกาฬ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.

ณัฐกาญจน์ เลิศยะโส. (2553). การพัฒนาทักษะการเขียนความเรียงร้อยแก้วโดยใช้การสอนแบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับ

แบบฝึกการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร,

นครปฐม.

ถวัลย์ มาศจรัส. (2545). การเขียนเชิงสร้างสรรค์เพื่อการศึกษาและอาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธารอักษร.

ธิดา ทิพย์สุข. (2552). การพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค CIRC (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

นันทิกา วงศ์ใยคำ, และ กาญจนา วิชญาปกรณ์. (2565, กรกฎาคม). การพัฒนาทักษะการเขียนความเรียงของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 2 . วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(6), 255-268. สืบค้นจาก

https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/article/view/255729/173780

มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). วิธีวิจัยทางการศึกษา. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เมธาวดี จับจุ, สุวรรณี ยหะกร, และอภิรักษ์ อนะมาน. (2565, กรกฎาคม-ธันวาคม). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค

CIRC ที่มีต่อความสามารถในการเขียนสื่อความภาษาไทยและความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, 6(2), 176-187. สืบค้น

จาก http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/issue/view/131/JPBE

เยาวรัตน์ ทองมี, จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย, และสุจิตรา คงจินดา. (2554, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาทักษะการอ่านจับ

ใจความและการเขียนเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค

CIRC. วารสารสังคมศาสตร์วิจัย, 2, 83-96. สืบค้นจาก http://dept.npru.ac.th/jssr/data/files/7

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาพร มีอาษา. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยเทคนิค CIRC เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่าน

และเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์นิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย

นเรศวร, พิษณุโลก.

สุรีย์มาศ บุญฤทธิ์รุ่งโรจน์. (2544). การพัฒนาแบบฝึกการอ่านจับใจความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

Kruse, k. (2007). Introduction to Instruction Design and the ADDIE Model. Accessed 5 November 2020.

Available From: http://www.transformativedesigns. com/id_systems.html.

Slavin, R.E. (1995). Cooperative Integrated Reading and Composition. Menlo Park, CA: Addison-Wesley