การพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้แอปพลิเคชันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองผักตบโพนเพ็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนมเขต 2

Main Article Content

ฐานิดา ใจตรง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้แอปพลิเคชัน ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองผักตบโพนเพ็ก ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยแอปพลิเคชันสำหรับพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองผักตบโพนเพ็ก 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองผักตบโพนเพ็ก ต่อการใช้แอปพลิเคชันสำหรับพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมายใน การวิจัยเชิงทดลอง คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหนองผักตบโพน เพ็กที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้                     2)  แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test for dependent samples และค่าประสิทธิภาพของเครื่องมือ


ผลการวิจัยพบว่า 1) แอปพลิเคชันสำหรับพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ E1/ E2 เท่ากับ 80/79 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้2) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แอปพลิเคชันใน การพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 3) ความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการใช้แอปพลิเคชันสำหรับพัฒนาทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
research article
Share |

References

เกษม ยังนิ่ง. (2555). การใช้พอร์ดคาสต์เป็นสื่อเพื่อพัฒนาทักษะการฟังเพื่อความเข้าใจและความพึงพอใจและพฤติกรรม

การเรียนรู้ของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน

พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.จำกัด.

กฤตวรรณ จึงพัฒนา. (2547). การพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่องโลก ดวงดาว และอวกาศ วิชาวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

ชายุดา จันทะปิดตา. (2555). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการฟังภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 4 โรงเรียนบัวหลวงวิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฏฐพล คุปต์ธนโรจน์. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้กลวิธีเดาความหมาย

คำศัพท์จากบริบทสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม.

วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, บัณฑิตวิทยาลัย,

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เตือนใจ อัฐวงศ์ (2557) การเป็นผู้ฟังที่ดี. Retieved from:http://www.med.cmuac thtdept/ rehab/2010/

images/stories/Good listening.pdfNation, I. S. P. (2009) Teaching ESL/EFL listening and speaking.

New York Routledge.

ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์จำกัด.

นคร ละลอกน้ำ. (2561). การพัฒนาแบบจำลองการสอนแบบผสมผสานโดยใช้สื่อที่สร้างสรรค์จากผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

แบบร่วมมือเพื่อฝึกทักษะการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีการศึกษา สำหรับนิสิตปริญญาตรีสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา.

วารสารศึกษาศาสตร์, 29(2), พฤษภาคม – สิงหาคม, 123-141.

นรีลักษณ์ปัทมะทัตต์. (2558). การใช้สื่อการสอน Kahoot เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4

รายวิชา Fundamental English. รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.

นพอนนต์ชาครจิรเกียรติ. (2558). การใช้เกมแบบทดสอบเพื่อ เปรียบเทียบความพึงพอใจในการ สอนวิชาพื้นฐานการเขียน

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ระหว่างการใช้โปรแกรม Kahoot กับการสอบปกติของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวานิชบริหารธุรกิจ. วิทยาลัย เทคโนโลยีวานิชบริหารธุรกิจ.

เบญจมาศ จันปุ่ม. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา.

มหาวิทยาลันครพนม.

ประสาท อิศรปรีดา. (2546). สารัตถะจิตวิทยาการศึกษา. มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยบุตร ทรัพย์สุคนธ์. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิด วิเคราะห์และทักษะการทำงานกลุ่ม

ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ในนักเรียนชั้นมัธยม

ศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์. วิทยาลัยครูสริยเทพ

มหาวิทยาลัยรังสิต.

ปิยะพงษ์ วงศ์ขุมเงิน. (2556). การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบ

MAT. วิทยานิพนธ์คบ.ม. (หลักสูตรแสะการสอน). ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรรณี อุ่นละม้าย. (2560). การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้โปรแกรม Kahoot สำหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาบีที่ 4 โรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทราวิทยานิพนธ์. ครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาคณิต ศาสตรศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร. กรุงเทพฯ. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565,

จาก: http://tdc.thalis.or.th.

พรพันธุ์สิงห์จารย์. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการ

เรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ LT ประกอบเกม (การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณติต). มหาสารคาม. มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

พรพิมล ริยายและธนางกูร ขำศรี. (2555). การพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 โดยการใช้

โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย. รายงานการวิจัยภาควิชาศึกษาทั่วไป และสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร.

เชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

พรเพ็ญ ไตรพงษ์. (2562). ผลสัมฤทธิ์การเรียนรูคําศัพทภาษาอังกฤษเกี่ยวกับกฎหมายอาญา และวิธีพิจารณาความอาญาจาก

การเลนเกม Kahoot ของนักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร์. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร์, 14(2), 258-274. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2563, จาก: Thai Journals Online (ThaiJO).

เยาวพา เดชะคุปต์ (2556). กิจกรรมสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

รมณียา สุรธรรมจรรยา. (2558). ผลการใช้แอพพลิเคชั่นสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษบนแท็บเล็ตวิชา ภาษาอังกฤษ

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2. วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชันส์.

รุ่งพนอ รักอยู่. (2559). ความสามารถด้านการฟังภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาไทยที่ เรียนภาษาอังกฤษ

เป็นภาษาต่างประเทศ : กรณีศึกษาสถาบันพลศึกษาในเขตภาคกลาง. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต),

มหาวิทยาลัย บูรพา, บัณฑิตวิทยาลัย.

ลียานา ประทีปวัฒนพันธ์ (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนห้องเรียน

สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E ร่วมกับการเรียนแบบ STAD.

วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศวิมล จันทะบาล. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการฟังและด้านการพูดภาษาจีน โดยใช้สื่อ

เทคโนโลยีร่วมกับเทคนิคการเสริมแรง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการ

สอน). เชียงราย : คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง.

ศักดิ์ดา เตทะรวง. (2556). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแอพพลิเคชั่น. ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2557. จาก http://th.wikipedia.org /wiki/.

ศิริลักษณ์เลิศหิรัญทรัพย์. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์โดยใช้แอพพลิเคชั่น คาฮูท ในการ

จัดการเรียนการสอน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สืบค้นจาก

http://elsd.ssru.ac.th/ siriluck_le/pluginfile.php/141/block_html/content/วิจัยในชั้นเรียน 2560.pdf

ศรีสุดา ญาติปลื้ม. (2547). การพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบ TAI วิชาคณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ชั้นมัธยมศึกษาปี

ที่ 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุรศักดิ์ปาแฮ, (2554). การสอนทักษะฟัง-พูดภาษาอังกฤษ. (เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้สอนภาษาอังกฤษ

ระดับประถมศึกษา สพป. แพร่ เขต 2. แพร่ : สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาแพร่เขต 2.

เสาวลักษณ์แก้วกําเนิด และคณะ. (2556). การพัฒนา ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2557,

จากhttp://service.nectec.or.th/project0pgShowPrj.php?chrFlg1=1&chvCodPrj=P1201722& color

=brown.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). คู่มือการอบรมการสร้างแอพพลิเคชั่น 2556. กรุงเทพฯ : สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

อุบลรัตน์ศิริสุขโภคา และสรเดช ครุฑจ้อน. (2562). การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันเพื่อเสริมทักษะการอ่านออกเสียง

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยเทคนิคการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน.

Ares, A.M., Bernal, J., Nozal, M.J. Sanchez, F.J., & Bernal, J. (2018). Results of the use of Kahoot gamification

tool in a course of Chemistry. International Conference on Higher Educatior Advances, 18(4), 1215-

From: http://ocs.editorial.upv.es/index.php/iEAD/HEAD18/paper/viewFile/8179/3809.

Budiarti. (2017). ICT (Information and Communication) Use Kahoot Program for English Students' Leaning

Booster. Education and Language International Conference Proceedings Center for International

Language Development of Unissula, 1 (1), 178-188. from:http://jumal.unissula.ac.id/index.php/

ELIC/article/view/1225/934.

Building Blocks Page. (2556). [Online]. Available: http://www.cisco.com/web/TH/solutions/brdc/

Blocks_optimization.html.

Chen, F., J. Sager, G. Corbitt and S. Kent. (2008). The Effects of Using a Tablet PC on Teaching and Learning

Processes. Retrieved Jun 15, 2014, from http://aisel.aisnet.org/amcis 2008 /262.

Eady, M, & Lockyer, L. J. (2013). Tools for learning: Technology and teaching. 71.

El-Gayar, O.; Moran, M. and Hawkes, M. (2011). Student’s Acceptance of Tablet PC and Implications for

Education. Retrieved from http://www.ifets.info/journals/14.2/5.pdf Harmer, J. (2007). How to teach

English? new edition.

Luik. (2019). The Use of Kahoot GameTTo Acouire Vocaburary Competence. Proceeds The 7th Undergraduate

Conference on ELT Lingusitic and Literature, 7 (2), 162-167. Retrieved January 14, 2020, from:

https://www.researchgate.net/profile/Maria_Riyadini/publication/338501003_Proceedings

Undergraduate_Conference_2019/links/5e1o0dc54585159aa4c2f194/Proceedings Undergraduate-

Conference-2019.pdf#page=163.

Mansur, M., & Fadhilawati, D. (2019). Applying Kahoot to Improve the Senior High School Students'

Vocabulary Achievement. Voices of English Language Education Society, 3 (2), 164-173 Retrieved

January 12, 2020, from: http://www.ejournal.hamzanwadi.ac.id/indexphp/veles/article/view/

/933

Medina, E.G.L., & Hurtado, C.P.R. (2018). Kahoot! A Digital Tool for Learning Vocabulary in a language

classroom. Revista Publicando, 12(1), 441-449. Retrieved January 13, 2020.

Muhridza N.H.M., Rosli, N.A.M., Sirri, A., & Samad, A.A. (2018). Using Game-based Technology, KAHOOT for

Classroom Engagement. LSP International Journal,5 (2),37-08. Retrieved January 9,2020,

from:https://tpinterationaljournal.utm.my/index.php/lspij/article/view/77/73.

https://revista publicando.org/revista/index.php/crv/article/view/673Nation,

I. S. P., & Newton, J. (2008). Teaching ESL/EFL listening and speaking Routledge. Nation,

I.S.P. & Newton, J. (2009). Teaching ESL/EFL Listening and Speaking. New York: Routledge.

Rost, M. (1991). Listening in Action: Activities for Developing Listening in Language Teaching. London:

Prentice Hall International.

Scott, Myers M. (1970). Every Employer: More Meaningful Work through Job Environment. New York:

Mc graw-Hill Book Company.

Tyagi, B. (2013). Listening: An Important Skill and Its Various Aspects. The Criterion an International Journal

in English.

Vandergrift, L. (2016) Listening: theory and practice in modern foreign language competence. LLAS Centre

For Languages, Linguistics and Area Studies, University of Southampton. Retrieved from

https:/www.llas.acuk//resources/4pg/67.

Wilson, J. J. (2008). How to teach listening: Pearson Longman.