Math Innovator Fostering Creativity นวัตกรคณิตคิดสร้างสรรค์ วิภาวดี บุญไชยศรี

Main Article Content

วิภาวดี บุญไชยศรี

บทคัดย่อ

สิ่งสำคัญในการพัฒนานักเรียนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และนำไปสู่การสร้างผลงานนวัตกรรมจนเป็นนวัตกร คือ รูปแบบการสอนของครูที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาด้วยตัวนักเรียนเองโดยเน้นไปที่การสร้างสถานการณ์ปัญหาที่มีความท้าทายผลักดันให้นักเรียนได้เกิดกระบวนการหาคำตอบด้วยวิธีการของตนเองอย่างเป็นระบบ ซึ่งบทความวิชาการนี้นำเสนอรูปแบบการสอนสองรูปแบบคือวิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) และตามกรอบแนวคิดกระบวนการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สร้างนวัตกรที่มีความคิดสร้างสรรค์ (Satit KKU Creative Innovator Framework) รูปแบบการสอนทั้งสองรูปแบบมีจุดเด่นในการพัฒนานักเรียน คือ เป็นการเสนอสถานการณ์ปัญหาเพื่อให้นักเรียนท้าทายตนเองเกิดแรงผลักดันที่จะสืบเสาะหาวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง เกิดระบบการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เปิดมุมมองในการเห็นปัญหาเกิดวิธีการแก้ไขที่หลากหลายจนนำไปสู่การนำความคิดสร้างสรรค์นั้นไปสร้างชิ้นงานนวัตกรรมจนเป็นนวัตกรเพื่อใช้ประโยชน์และใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต่อไป
คำสำคัญ: นวัตกรคณิต คิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม


The key to develop students' creative thinking and lead them towards innovative achievements was the teaching approach emphasizing problem-solving processes with students themselves. This approach focused on creating challenging situations that encouraged students to develop systematic, self-directed problem-solving methods. The combination of two teaching approaches: Open Approach and the conceptual framework of Khon Kaen University Demonstration School had created SATIT KKU Creative
Innovator Framework, which utilized both teaching approaches to enhance students. Both approaches exceled in developing students by presenting challenging problems, encouraging self-motivation to seek solutions, and establishing self-driven knowledge-building systems. They provided different perspectives for problem identification and diverse problem-solving methods, ultimately leading to the creation of innovative ideas and solutions for various everyday life challenges that were constantly evolving.
Keywords: Math Innovator, Creativity, Innovation

Article Details

How to Cite
บุญไชยศรี ว. (2023). Math Innovator Fostering Creativity นวัตกรคณิตคิดสร้างสรรค์: วิภาวดี บุญไชยศรี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 4(3), 71–80. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/edunpuJ/article/view/2463 (Original work published 29 ธันวาคม 2023)
บท
Academic article
Share |

References

กนิษฐา พูลลาภ. (2563). การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ร่วมกับการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน สำหรับนักเรียนห้องเรียน

พิเศษวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนผดุงนารี. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 วันที่ 27 มีนาคม

ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. ความหมายของนวัตกรและทักษะสำคัญของการเป็นนวัตกร. สืบค้นจาก

http://www.thailibrary.in.th/

ดิเรก พรสีมา. (2559). ครูไทย 4.0. มติชน. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/news/345042

ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ และคณะ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ในโรงเรียน โดยเน้นกระบวนการทางคณิตศาสตร์. รายงานสภาวิจัย.

สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2562). หลักสูตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่นที่สร้างนวัตกรที่มีความคิดสร้างสรรค์(Creative Innovator). คณะ

ศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วีรินยาอร เหลืองบริบูรณ์. (2564). นวัตกรรม คืออะไร. สืบค้นจาก #EASYINNOVATION MODEL. https://www.schoolofchangemakers.com

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). คู่มือจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6. องค์การค้าของ สกสค.

สาลินี เรืองจุ้ย. (2554). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาปลายเปิด เรื่อง ลำดับและอนุกรมที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 5. สารนิพนธ์กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอนหลักการ ทฤษฏี สู่การปฏิบัติ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์.

อัมพร ม้าคนอง. (2553). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Guilford and Hoepfner, R. (1971). The Analysis of Intelligence. New York: McGraw-Hill Book.

Kanter, R.M. (1988). Changes-Master Companies: Environments in which Innovations Florish. In R.L. Kuhn (Ed.), Handbook for Creative

and Innovative Managers. McGraw-Hill.

Paziotopoulos, A. and Kroll, M. (2004). Hooked on thinking. Journal of The Reading Teacher, 57(7), 672-677.

Torrance, E.P. and R.E. Myers. (1962). Creative Learning and Teaching. New York: Good, Mead and Company. Shallcross, 1981.

Wilson, P. (1977). Simplex Creative Problem Solving. Creative and Innovation Management, 6(3), 160-166.