การนำกฎโคไซน์มาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำประตูที่จุดโทษในกีฬาฟุตซอล

Main Article Content

Norawit Chaisri

บทคัดย่อ

การศึกษานี้นำเสนอการประยุกต์ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการยิงประตูในกีฬาฟุตซอล โดยมุ่งเน้นการใช้ทฤษฎีพีทาโกรัสในการคำนวณระยะทางและการใช้กฎโคไซน์ในการหามุมที่เหมาะสมสำหรับการยิงประตูนอกจากนี้ ยังศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างมุมการยิง และแรงที่กระทำต่อลูกฟุตซอลบทความนี้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีทางคณิตศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงของการแข่งขันกีฬาฟุตซอลผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาเทคนิคการเล่นและการฝึกซ้อมของนักกีฬาฟุตซอลรวมถึงการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการยิงประตูในการแข่งขันระดับสูง

Article Details

How to Cite
Chaisri, N. (2024). การนำกฎโคไซน์มาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำประตูที่จุดโทษในกีฬาฟุตซอล. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 5(3), 85–95. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/edunpuJ/article/view/4083
บท
Academic article
Share |

References

ณัฐวุฒิ มณีใส และคณะ, 2565; มานิตย์ อยู่สำราญ, 2553; ราชิต ศักดิ์วิเศษ และคณะ, 2556; วุฒิกษณ์ ก่อบุญ, 2561; เหม

ราช ถึงเจริญ และคณะ, 2564; ปฐมพงศ์ คําจันทร์ และธชา รุญเจริญ, 2561) เกริกวิทย์ รงสมบัติ, นิรอมลี

มะกาเจ, ราตรี เรืองไทย, และ อำนวย ตันพานิชย์. (2562). การเปรียบเทียบพื้นสนามที่แตกต่างกันต่อความเร็ว

ในการวิ่งของนักกีฬาฟุตซอล. Academic Journal of Thailand National Sports University, 11(2),

–46.

จิรศักดิ ปรีชาวีรกุล. (2564). การศึกษาความสัมพันธ์ของหน่วยวัดความเข้มแสงระหว่างค่าลักซ์ ค่ารูรับแสงสำหรับการจัดแสง

โคมไฟ 3 ตำแหน่ง เพื่อการบันทึกภาพ. Journal of Advanced Development in Engineering and

Science, 11(32), Article 32.

จิราพัฒน์ เย็นใจ, นิรอมลี มะกาเจ, อํานวย ตันพานิชย์, ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล, และสุกัญญา เจริญวัฒนะ. (2566). การวิเคราะห์

รูปแบบการยิงประตูของทีมที่ประสบความสำเร็จในการแข่งขันฟุตซอล ระดับลีกอาชีพของประเทศไทย. Thai

Journal of Health, Physical Education and Recreation, 49(3), 321–332.

ณัฐวุฒิ มณีใส, นิรอมลี มะกาเจ, เพ็ญนิภา พูลสวัสดิ์, สมภพ สาครดี, และ ประเวท เกษกัน. (2565). การวิเคราะห์ระดับความ

หนัก ปริมาณการเคลื่อนที่และทักษะที่ใช้ขณะแข่งขันฟุตซอล ในสนามที่มีขนาดแตกต่างกัน: Analysis of

Intensity, Movement Demand and Technical Skill During Futsal Match Played Between

Different Pitch Sizes. Thai Journal of Health, Physical Education and Recreation, 48(2), 68–79.

ปฐมพงศ์ คําจันทร์, และธชา รุญเจริญ. (2561). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาฟุตซอลของนักกีฬาฟุตซอลที่สังกัดสโมสรในภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เข้าร่วมการแข่งขันฟุตซอลไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก. Journal of Education Khon

Kaen University (Graduate Studies Research), 12(4), 45–53.

มานิตย์ อยู่สำราญ. (2553). สาระน่ารู้เกี่ยวกับการออกกําลังกาย. Academic Journal of Thailand National Sports

University, 2(1), 187–199.

ราชิต ศักดิ์วิเศษ, ประยูร บุญใช้, และภูมิพงศ์ จอมหงษ์พิพัฒน์. (2556). การพัฒนาชุดฝึกทักษะกีฬาฟุตซอล กลุ่มสาระการ

เรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. Journal of Humanities and Social

Sciences Nakhon Phanom University, 3(2), 27–32.

วีนัส ชาลี, และ ชนินันท์ พฤกษ์ประมูล. (2563). ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิว

ตันตามกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยาของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์

ปริทัศน์, 35(3). https://so04.tci-thaijo.org/index.php/eduku/article/view/240878

วุฒิกษณ์ ก่อบุญ. (2561). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมพื้นฐานการเล่นฟุตซอล ของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. Journal of Educational Technology and

Communications Faculty of Education Mahasarakham University (JETC), 1(3). https://so02.tci-

thaijo.org/index.php/etcedumsujournal/article/view/242311

เสวียน ใจดี, และ ฟองจันทร์ วรรณลุขขี. (2563). Solvability of the Diophantine Equation 𝑥2+𝑝2 = 𝑦n when 𝑝 is

a Prime. KKU Science Journal, 48(2), 175–182.

เหมราช ถึงเจริญ, วิมลมาลย์ สมคะเน, และ ชาญชัย ชอบธรรมสกุล. (2564). การเตรียมทีมกีฬาฟุตซอลเข้าร่วมการแข่งขันใน

ฟุตซอลลีกระดับประเทศ. KASEM BUNDIT JOURNAL, 22(2), 123–134.