การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรสาธารณสุข หลังโควิด-19 ในมหาวิทยาลัยมิยะ

ผู้แต่ง

  • จื้อเหิง ทง คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
  • เดชกุล มัทวานุกูล คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

ระยะการแพร่ระบาดช่วงปลายของ COVID-19, หลักสูตรสาธารณสุข, ระดับความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษามิติความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรสาธารณสุขหลังโควิด-19 ในมหาวิทยาลัยมิยะ 2) วิเคราะห์ข้อมูลทางประชากรของความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรสาธารณสุขหลังโควิด-19 ในมหาวิทยาลัยมิยะ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมิยะ เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 1200 ชุด และได้ผลจากแบบสอบถามที่สามารถนำไปใช้ได้จำนวน 1129 ชุด คิดเป็นร้อยละ 94 ของแบบสอบถามทั้งหมด

ผลการศึกษาพบว่า จากแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมิยะ มีการวิเคราะห์เนื้อหาการสอน รูปแบบการสอน ทรัพยากรการสอน การจัดการสอน และผลการสอน นอกจากนั้นผู้วิจัยยังได้วิเคราะห์ผลกระทบต่อความพึงพอใจของนักศึกษาตามตัวแปรทางประชากรศาสตร์ (1) ความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาที่มีต่อการสอนความรู้ด้านสาธารณสุขในมหาวิทยาลัยมิยะอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตามคะแนนโดยรวมยังไม่สูงมากนัก ดังนั้นคุณภาพการสอนวิชาความรู้ด้านสาธารณสุขในมหาวิทยาลัยมิยะจึงจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นหลังจากสถานการณ์โรคระบาด (2) นักศึกษาส่วนใหญ่ให้การยอมรับว่าอาจาร์มีคุณภาพวิชาชีพและมีความเป็นมืออาชีพสูง อีกทั้งยังสามารถปฏิบัติตามกฎและระเบียบพื้นฐานของโรงเรียน ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ และสามารถตอบสนองความต้องการของนักเรียนได้ (3) วิชาเอก เกรด ประสบการณ์การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และผลการเรียนของนักศึกษาล้วนมีอิทธิพลเพียงเล็กน้อยต่อการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา มีเพียงตัวแปรด้านเพศของนักศึกษาเท่านั้นที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนการสอน

References

Gu Linsheng, Han Min, Chen Zhifen. (2008). Study on current situation of public safety education in China [J]. China Emergency Management. (10), 32-37.

Hu Xianqi. (2020). Safeguard measures and effectiveness analysis of online teaching in colleges and universities during the COVID-19 epidemic [J]. China Agricultural Education. (2).

Huang Xing, Pan Xiaoyan, Li Menglu, et al. (2020). Investigation and analysis of online teaching students' satisfaction during the epidemic prevention and control of COVID-19 [J]. China Higher Medical Education. (7), 31-32.

Kang Zheng, Lv Huihui, Tian Guomei. (2020). Effects of novel coronavirus epidemic on professional cognition of undergraduates majoring in public health [J]. Higher Medical Education in China. (9), 5-6.

Li Guochao. (2015). An empirical study on undergraduate teaching quality satisfaction in ordinary universities - taking H University as an example [J]. Exploration of Higher Education. (04), 67-74.

Li Yingying, Zhang Hongmei, Zhang Haizhou. (2020). Model construction and empirical test of college students' satisfaction with Online learning during the epidemic: Based on the survey of 15 universities in Shanghai [J]. Open Education Research. (4), 41-42.

Liu Lina, Fang Shaokun, Hao Shuguang, Du Yanqiu. (2016). Student satisfaction and Influencing factors of local undergraduate education quality: Based on the survey data of Y University CCSS [J]. Higher Engineering Education Research. (04), 105-111.

Liu Wu. (2009). Research on the Satisfaction Index Model of Public Service recipientts [D]. Northeastern University.

Liu Yuanyuan, Shen Liqin, Ye Lizhen, Sun Chengjun, Luo Caiying, Guo Yi, Dai Yucen, Liang Yiying, Xu Peiyu. (2020). Investigation and evaluation of teaching effect of elective courses of public health in international courses in colleges and universities [J]. Modern Preventive Medicine. (23), 194-198.

Lu Huihui, Kang Zheng. (2020). Study on the cultivation of undergraduates majoring in public health from the perspective of students under the influence of the novel coronavirus epidemic [J]. Chinese Higher Medical Education. (7), 2.

Wang Qiwei, Dong Zhouwei. (2012). College Students' Public health and Health Education [M]. Chengdu: University of Electronic Science and Technology Press.

Wang Shuguang, Shao Dong, Yang Qixi. (2018). Three implementation subjects of national security concept education for college students [J]. Journal of louche vocational and technical college. 17(01, 102-105.

Wang Xinxin. (2018). A survey on Students' satisfaction with Classroom teaching in local colleges and Universities [D]. Gannan Normal University. (01), 102-105

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29