ภาวะผู้นำทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ
-
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา เปรียบเทียบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการครูกลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 259 คนจาก 4 โรงเรียน โดยการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นนำไปสุ่มอย่างง่ายแบบมีสัดส่วน เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที
ผลการวิจัยพบว่า
1. ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทั้งหมดอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากสูงที่สุดไปต่ำที่สุด ดังนี้ ด้านการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน รองลงมา คือ ด้านการมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริหารงานโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ และ ด้านการมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล ตามลำดับ
2. ข้าราชการครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
3. ข้าราชการครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในจันท์ ชล และกรุงเทพฯ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
References
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. หน้า 10
จิณณวัตร ปะโคทัง. (2561). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. อุบลราชธานี; คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
จิรพล สังข์โพธิ์ และคณะ. (2560). ภาวะผู้นำในการบริหารยุคดิจิทัล:องค์การไอทีและองค์การที่เกี่ยวข้องกับไอทีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชุติรัตน์ กาญจนธนชัย. (2562). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
กุลนิติ เบ้าจรรยา, พระครูปลัดบุญช่วย โชติวํโส, สุนทร สายคำ, ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามหลักอิทธิบาท 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม. 10(1), 73-85
กัลยวรรธน์ ตะเภาทอง, สถิรพร เชาวน์ชัย, วิทยา จันทร์ศิลา. (2565). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้ บริหารโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตรเขต 1. Journal of Modern Learning Development. 7(2), 41-55
กิตติภพ ภวณัฐกุลธร. (2566). การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต2. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์. 10(2), 47-58.
ณัฐวุฒิ พงศ์สิริ. (2560). ผู้นำที่เรียกว่า Digital Leader ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสาร HR Society Magazine. 15(172), 20-23.
ณัฐวิภา อุดชุมนารี. (2565). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาสกลนคร : ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 2(2), 103-116.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2023). การศึกษาภาวะผู้นำการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของบุคลากรในสถานศึกษา. วารสารวิจยวิชาการ. 6(2), 137-154.
ดลภูมิ สุริยันต์, ถนัด นัยต์ทอง. (2565). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีต่อการบริหารโรงเรียนวัดยกกระบัตร (ชุบราษฎร์นุสรณ์) อำเภอบ้านแพ้วจังหวัดสมุทรสาคร. Journal of Roi Kaensarn Academi. 7(1), 163-173
สุธิดา สอนสืบ, พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร. (565). โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้ บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์. 6(2), 212-225.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี : การนำเทคโนโลยีสู่ห้องเรียนและโรงเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 16 (4), 216-224.
ศิริพงษ์ กลั่นไพฑูรย์, จิติมา วรรณศรี. (2566). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 11(2), 478-482
ปิยะพงศ์ คงกระพันธ์, ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน, ศุภชัย ทวี. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของบริหารสถานศึกษากับการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 3. วารสารครุศาสตร์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 6(1), 61-74.
ธัญชาติ ล้อพงค์พานิชย์. (2565). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่21 ของครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมจรอุบลปริทรรศน์. 7(2), 579-592.
ธนกฤต พราหมน์นก, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, ธธง พวงสุวรรณ. (2560). การศึกษาองค์ประกอบด้าน ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences. 17(1), 43-53.
พัฒนศักดิ์ อภัยสม, ณัฐรดา คณารักษ์, ดนุดา ณกาฬสินธุ์, อดินันท์ แก้วนิล, ชวนคิด มะเสนะ, นิรมิต ชาวระนอง. (2565). แบบภาวะผู้นำทางการศึกษายุคใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 16(2), 1-12
พระ ณัฐวุฒิ พันทะลี. (2565). ภาวะผู้นำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุคดิจิทัล. Journal of Local Management and Development Pibulsongkram Rajabhat University. 2(2), 74-86.
ฝนทิพย์ หาญชนะ, คึกฤทธิ์ ศิลาลาย. (2565). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ คิดเห็นของครูโรงเรียนสหวิทยาเขตชลบุรี1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง. Journal of Roi Kaensarn Academi. 7(6), 117-133
จุฑามาศ กมล, สุภาวดี ลาภเจริญ. (2565). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดสหวิทยาเขตปิยมิตรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี. Journal of Roi Kaensarn Academi. 7(8), 388-403.
นภัสรัญช์ สุขเสนา, ปารย์พิชชา ก้านจักร, เสาวนี สิริสุขศิลป์. (2565). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติ งานของครูในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต 2. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 14(3), 178-191
ทินกร บัวชู. (2562). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา The Status of Digital Leadership of Education Management Administrators. วารสารครุศาสตร์สารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 13 (2), 285-594.
อนุนิดา ยนต์ศิริ, อุไร สุทธิแย้ม. (2566). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลตามการรับรู้ ของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(2), 159-172.
อาภาภรณ์ ภูศรี, พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร. (2565). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์. 6(2), 200-211
ศศิวิมล มาลาพงษ์, สุทธิพงศ์ บุญผดุง. (2565). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคดิจิทัล. ใน รายงานการประชุม Graduate School Conference. 4(1) 1264.
ทศวรรษ เกิดติ๋ง, ธดาสิทธิ์ ธาดา. (2565). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและการขับเคลื่อน นวัตกรรมสู่การศึกษา 4.0. ใน รายงานการประชุม Graduate School Conference. 4(1) 1346.
Kim, K. M. (2009). Digital Leadership for High School Classroom Management. Scholar. 1(1). Cronbach LJ. Essentials of Psychological Testing. New York: HarperCollins, 1990. pp. 190–223.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.
LI Xunan, Ntapat Worapongpat (2022). THE TRANFORMATION LEADERSHIP ADMINISTRATION OF FIT MIDDLE SCHOOL IN AUHUI PROVINCE. International Journal of Multidisciplinary in Educational & Cultures Studies. 1(1), 14-27
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารครุศาสตร์ปัญญพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์