Soft Power and music in Thai society
คำสำคัญ:
Soft Power, Soft Power ในดนตรี, Soft Power ในสังคมไทยบทคัดย่อ
ดนตรีมีบทบาทสำคัญในการเป็นเครื่องมือ Soft Power ของสังคมไทย โดยสร้าง ความน่าสนใจและความเข้าใจจากนานาชาติ การนำเสนอวัฒนธรรมและทัศนคติไทยผ่านดนตรีหลากหลายรูปแบบไม่เพียงสร้างความเพลิดเพลิน แต่ยังเป็น Soft Power ที่ทรงพลัง ทำให้ทั่วโลกชื่นชมความเป็นไทย แม้โลกดนตรีจะพัฒนาและแนวโน้มการฟังที่เปลี่ยนไป แต่ดนตรีไทย บางประเภทได้ก้าวขึ้นมามีบทบาทสำคัญในการสร้างความบันเทิง และทำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จัก นโยบายต่างประเทศเสริมสร้าง Soft Power โดยยกระดับสถานะประเทศเพื่อเป็นสะพานเชื่อมระหว่างประเทศมหาอำนาจและกำลังพัฒนา การทูตเชิงวัฒนธรรมผ่านดนตรีส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและสร้างพันธมิตร ดนตรีเป็นสัญลักษณ์สำคัญที่หล่อหลอมสังคมทั้งในและนอกประเทศ การผสมผสานดนตรีท้องถิ่นกับนวัตกรรมช่วยสร้างความเข้าใจ ในวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเที่ยว ดนตรีจึงเป็นตัวแทน Soft Power ที่มีอิทธิพลในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของไทยในระดับโลกReferences
กนกพร โชคจรัสกุล. (2565). เผยวิธีสร้าง'T-POP'อุตสาหกรรมดนตรีให้เป็น 'Soft Power' ไทยจุดประกาย. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/lifesty
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2565). กระทรวงวัฒนธรรมเดินหน้าผลักดัน SOFT POWER ดึง “เบิร์ด-ธงไชย” ถ่ายทอดเสน่ห์วัฒนธรรมผ่านบทเพลง “ฟ้อนทั้ง น้ำตา” สืบค้นจาก www.thaimediafund.or.th กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ร่วมกับคณะนิเทศศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2567). จัดงานคอนเสิร์ต 84 ปีลูกทุ่งไทย ภายใต้โครงการลูกทุ่งสร้างสรรค์ผสานสมัย พลังศิลปวัฒนธรรมไทยสู่สากล. salika.co.
สืบค้นจาก https://www.salika.co/traditional-thai-music-go-international/
กิตติ ประเสริฐสุข. (2566). Soft Power ของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีในอาเซียนและนัยต่อไทย (480 หน้า). สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
ณัฐนาม ไวยหงส์. (2565). ดนตรีเร็กเก้ เคป๊อปและร็อกแอนด์โรล Soft Power ที่ทำให้แต่ละประเทศถูกจดจำอย่างชัดเจน. Vogue Thailand. สืบค้นจาก
https://www.vogue.co.th/music-soft-power
ไพบูลย์ ปีตะเสน และจิราพร จันจุฬา. (2563). ถอดรหัสเส้นทางสู่ฮัน-รยู 4.0 Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 12(2), 1-20.
โพสทูเดย์. (2563). คอลัมน์ทันเศรษฐกิจ. สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/world
วริศรา ภาคมาล. (2563). การทูตสาธารณะเครื่องมือ Soft Power ของเกาหลีใต้ กรณีศึกษา การทูตวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2566). ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570. สืบค้นจาก
https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=11074
Bangkok Post. (2022). Milli makes a sticky rice splash at Coachella. Retrieved from https://www.bangkokpost.com
Hug, S. (2019). Soft-power, culturalism and developing economies: the case of Global Ibsen. Palgrave Communications, 5(48), 1-9.
Ganjanapan, A. (2008). Multicultural in the context of social and culture transaction. In Proceedings of the Nationalism and Multicultural Conference (pp. 217-294). Chiang Mai University. [In Thai]
Hug, S. (2019). Soft-power, culturalism and developing economies: the case of Global Ibsen. Palgrave Communications, 5(48), 1-9. Retrieved from https://doi.org/10.1057/s41599-019-0255-4
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารครุศาสตร์ปัญญพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์