นวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม

นวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม

ผู้แต่ง

  • ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์

คำสำคัญ:

นวัตกรรมทางการศึกษา, สื่อการเรียนรู้, เทคโนโลยีความจริงเสริม, ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

              การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ และประเมินความพึงพอใจสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนด้านรูปแบบลักษณะของสื่อการสอนและด้านเนื้อหา กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน ในการจัดทำสื่อการเรียนรู้  ครั้งนี้ใช้โปรแกรมยูนิตี้ในการจัดทำโดย แบ่งฟังก์ชันการทำงานเป็น 3 เมนูหลัก ได้แก่ เมนูสแกน เมนูแนะนำ เมนูสาธิต และสื่อการเรียนรู้นี้ใช้ควบคู่กับหนังสือเออาร์ วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าผู้ใช้งานส่วนใหญ่ ด้านตัวอักษรอ่านง่ายชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.73

Author Biography

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์

นนทบุรี

References

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, อภิสิทธิ์ ทุริยานนท์, อรอนงค์ โพธิจักร, อพิเชษฐ กิจเกษมเหมิ และปวีณา จันทร์ไทย. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E -Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 14(2). 28-42.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564) . การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลรายวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 4(2). 427-442

Worapongpat, N., & Phakamach, P. (2022). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 14(2). 80-106.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชัชวนันท์ จันทรขุน, จิรวดี เหลาอินทร์, พรทิพย์ คุณธรรม, มนัสชนก ยุวดี. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาช่วยสอนในวิชาภาษาไทยเรื่อง หลักการใช้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน (พูนราษฎร์อุปถัมภ์) อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 15(2). 49-63.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ทรงชัย ชิมชาติ, หยาดพิรุณ แตงสี, อมรเทพ สมคิด, ชาญวิทย์ อิสรลาม. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรงโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1). 47-58.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, จุฑารัตน์ นิรันดร, ณัฐวุฒิ อัตตะสาระ, ปิยพัทธ์ สุปุณณะ, จันทนา มุกดาศุภณัฏฐ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่องการปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสารมจร ปรัชญาปริทรรศน์. [jmpr]. 5(2). 22-32.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, แสงระวี จรัสน้อยศิริ, สุรพล หิรัญพต, แก้วใจ พิชชามณฑ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาครชั้นประถมศึกษาปีที่5โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ. 5(3). 28-40.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชมภูนุช พัดตัน,กาญมณี เพ็ชรมณี, ณภาพัช ราโชกาญจน์, ศุภชัยรวมกลา กอบการณ์อาจประจันทร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุก จังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์ (Online). 2(3). 41-52.

อัญชนา ลักษณ์วิรามสิริ, ธนากร ปักษา, วิโรจน์ เทพบุตร, ณัฎฐณิชา จันทร์สว่าง และ ภัทรศยา อุตรพงศ์ (2565). การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์การละเล่นไทยพื้นบ้านด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(1), 187-197.

พรทิพย์ กลมดี. (2020). การพัฒนาแอปพลิเคชันความเป็นจริงเสริมเรื่องระบบสุริยจักรวาลสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์สื่อนวัตกรรมและการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ (E-Journal of Media Innovation and Creative Education), 3(2), 27-35.

สุวรรณี โลมกลาง, โชคศิลป์ ธนเฮือง, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา, & สุระ วุฒิพรหม. (2021). การศึกษา แบบจำลองความคิดจากการวาดภาพเรื่องระบบสุริยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา (JSSE), 4(1), 107-117.

คุ้มธัญ เจียม, & ลายเสมา, ส. (2564). ผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ความเป็นจริงเสริมในการวาดภาพแบบเสริมทักษะการวาดภาพหลายมุมมองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุคนธ์ธีรวิทย์

เรืองนภา ชอไชยทิศ และศุมรรษตรา แสนวา (2564). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเรื่องแนะนำการใช้บริการของสำนักหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)

Kevin Kruse Kruse, K. M. (2013). เที่ยวบินสีขาว ในเที่ยวบินสีขาว สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน. Kruse, K. M. , & Zelizer, J. E. (2019). รอยเลื่อน: ประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 1974 WW Norton & Company วรรณขาว, ซี, เส็งศรี, เอส, &

วชิร สุขมงคล, ข. (2563). ผลของการใช้สื่อความจริงเสริมต่อนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง "ระบบสุริยะ" วารสารการศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร, 22(4), 50-61.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-17