การบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
การบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
คำสำคัญ:
การบริหารกิจการนักเรียนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี จำนวน 63 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูที่ปรึกษารวมทั้งสิ้น 344 คน กำหนดขนาดตัวอย่างใช้สูตร (Taro Yamane) ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 - 1.00 และ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 ผลการวิจัย พบว่า ระดับการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านงานระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน รองลงมาคือด้านงานระเบียบวินัยและความประพฤตินักเรียนและด้านงานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านงานกิจกรรมนักเรียน ตามลำดับ
คำสำคัญ : การบริหารกิจการนักเรียน
References
เอกสารอ้างอิง
กัลยาณี รัตนบุตร. (2564). รูปแบบการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (วิทยานิพนธ์ กศ.ด. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยนเรศวร.
กุลสิริณัฐ์ วงศ์สุขจิตร. (2557). กลยุทธ์การบริหารงานกิจการนักเรียนด้านการพัฒนาวินัยนักเรียน
โรงเรียนประจำยุคใหม่ ตามมาตรฐานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย.
กุสินา รอดทอง. (2561). การบริหารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนคร
สุราษฎร์ธานี (การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา), มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
จันจิรา แกล้วหาญ. (2557). การศึกษาการบริหารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียนตามความคิดเห็น
ของครูและผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุราษฎร์ธานี เขต 2. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ณัฏฐ์ธฌานนท์ ข้ามสามอ (2564). แนวทางการบริหารกิจการนักเรียน เพื่อป้องกันปัญหา
พฤติกรรมการกลั่นแกล้งของนักเรียน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 2 หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
พิมประภา หมื่นรัญญ์. (2557). สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนโดยเน้นคุณธรรมนำความรู้
โรงเรียนประถมศึกษา เครือข่ายสมุย 1 อําเภอเกาะสมุย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
มัลลิกา คูลีวิน. (2559). แนวทางการบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนบ้างป่าซางนาเงิน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต).เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
มลรัก ทุมแสง. (2555) “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนางานกิจการนักเรียน
โรงเรียนบ้าน-กุดฮู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1.”วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2564). สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร.
ศักดา จำปาหอม. (2564). การพัฒนากระบวนการดำเนินงานระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน
ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ
ที่แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2553 (ฉบับที่ 3). กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คูมือการปฏิบัติงานของขาราชการครู.
กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579.
กรุงเทพมหานคร.
อณัญญา เรืองวานิช และนันทิยา น้อยจันทร์. (2557). แนวทางการบริหารงานกิจการนักเรียนของ
โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3.วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษา.
อภินันท์ ภูผาดาว. (2559). การพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมนักเรียนในโรงเรียน มัธยมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อาทิตยา เวชกรณ์. (2558). แนวทางการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในจังหวัดนครสวรรค์
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
Yamane, Taro.1967. Statistics, An Introductory Analysis, 2nd Ed., New York : Harper
and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นทัศนะ ลิขสิทธิ์ และความรับผิดชอบของผู้เขียนเจ้าของผลงาน