การพัฒนาโลโก้และบรรจุภัณฑ์และการพัฒนาสื่อดิจิทัล ผลิตภัณฑ์ประดิษฐ์จากลูกปัด จังหวัดนครปฐม
คำสำคัญ:
การตลาดดิจิทัล, การพัฒนาโลโก้, การพัฒนาบรรจุภัณฑ์, สื่อดิจิทัล, กำไลลูกปัดหยดน้ำบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.การศึกษาแนวทางและเพื่อการพัฒนาโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของกำไรลูกปัดหยดน้ำ ในชื่อ แก้วถัก เพื่อการแข่งขันทางการตลาด2.เพื่อศึกษาแนวทางและการพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ตลาดดิจิทัล และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับกิจการของกำไรลูกปัดหยดน้ำ โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงคือผู้มีประสบการณ์และผู้ประกอบการ ผู้บริโภคที่นิยมชื่นชอบใน กำไรข้อมือลูกปัดหยดน้ำ ในเขตพื้นเมืองจังหวัดนครปฐม จำนวน 120 คนช่วงเวลา 1 เดือน (ธันวาคม-มกราคม 63)สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า ด้านโลโก้ ที่มีความ ผลิตภัณฑ์เข้าใจได้ง่ายและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากว่าการเป็นโลโก้ปกติคือเป็นป้ายติดสินค้า และมีสีโลโก้มีความโดดเด่นสดใส เป็นคำว่า “Bangle” ด้านPage Facebook ที่เพิ่มช่องทางการติดต่อ คิวอาร์โค้ดที่สามารถสแกนเข้าเพจได้ การเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร ช่องทางการจัดจำหน่ายที่มากขึ้น การแชร์แพร่กระจายข่าวสารเพื่อเป็นการโฆษณาและโปรโมทสินค้า ผลิตภัณฑ์ประดิษฐ์จากลูกปัดไปสู่ระบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มความทันสมัยและความสะดวกสบายให้กับผู้บริโภคอีกด้วย
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การจัดการการตลาดและการตลาดดิจิทัลแหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้ OTOP นวัตวิถีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดลตำบลสัมปทวน อำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(3), 101-115.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). การจัดการการตลาดดิจิทัลและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งจากอ้อยศูนย์การเรียนรู้อยู่เย็นเป็นสุขบ้านวังตะเคียนจังหวัดราชบุรี. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 5(2), 15-28.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การจัดการการตลาดดิจิทัลผลิตภัณฑ์เทียนเจลหอมแฟนซีตำบลบ่อพลับ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารศึกษาศาสตร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 10(1), 160-179.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2563). การพัฒนาทักษะ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าตำบลบ่อพลับ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการนวัตกรรม.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์และสื่อสังคมออนไลน์กระเป๋าสานจากเส้นพลาสติกกลุ่มแม่บ้านงานจักสานบ้านนาโพรงมะเดื่อ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 3(1), 35-48.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการตลาดดิจิทัลชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวไร่ขิง. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(4), 1-9.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์ ผลิตภัณฑ์ไข่เค็มคุณป้า ชุมชนบ้านศาลาดิน นครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(2), 29-44.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). การพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์วิสาหกิจชุมชนข้าวลุงรินตำบลเสม็ด อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 23(2), 1-16.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). พฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชันเฟซบุ๊กและไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ และบริการของนักท่องเที่ยว: กรณีศึกษา ตลาดน้ำดอนหวาย หลังสถานการณ์โควิด-19. วารสารการจัดการโซ่คุณค่าและกลยุทธ์ธุรกิจ, 2(1), 41-53.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). แนวทางการพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มอาชีพสตรีแก้วถักอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สกลนคร, 8(1), 53-67.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจท่องเที่ยวตลาดน้ำวัดตะเคียน นนทบุรี ในสถานะการณ์โควิค 19. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน, 3(2), 33-53.
นิติ นิมะลา, ธนสิทธิ์ จันทะรี. (2560). การออกแบบเครื่องประดับ สตรีร่วมสมัยจากแรงบันดาลใจสาริดบ้านเชียงด้วยเทคโนโลยีสามมิติ. Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University, 9(3 SUP), 147-147.
บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2558). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กาฬสินธุ์: ตักสิลาการพิมพ์.
เตียว ลักษณ์, (2565). แรงจูงใจการเปิดรับสื่อและพฤติกรรมการบริโภคสินค้าเครื่องประดับเสริมดวงของผู้บริโภคเพศชาย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณรัตน์ ตั้งเจริญ. (2559). โครงการสร้างฐานข้อมูลการศึกษาศิลปะหลังสมัยใหม่และงาน ประติมากรรมของแอลลิกซานเดอะแคลเดอเพื่อพัฒนาสู่แนวโน้มการออกแบบเครื่องประดับ. Journal of Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences), 1(2), 14-23.
สื่อสารสังคมวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 8(2), 166-176.
eMarketing Institute. (2018). Social Media Marketing: Social Media Marketing Fundamentals. Retrieved 05,05, 2022, from: https//www.emarketinginstitute.org.
Dollarhide, Maya E. (2021). Social Media Definition. Retrieved 06, 04, 2022, from:https//www.investopedia.com /terms/s/social-media.asp.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นทัศนะ ลิขสิทธิ์ และความรับผิดชอบของผู้เขียนเจ้าของผลงาน