เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม : โอกาสหรือวิกฤตของแรงงานแพลตฟอร์ม ในสถานการณ์โควิด-19 สู่ปกติถัดไป

ผู้แต่ง

  • ฐิติยา เนตรวงษ์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 0000-0001-8276-428X

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงเศรษฐกิจแพลตฟอร์มเป็นเศรษฐกิจที่เกิดจากการจับคู่ความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มภายใต้ระบบนิเวศที่ประกอบด้วย เจ้าของแพลตฟอร์ม ผู้ให้บริการ ผู้ผลิต และผู้บริโภค ระบบเศรษฐกิจแพลตฟอร์มก่อให้เกิดการสร้างงานใหม่และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น สร้างโอกาสการเข้าถึงงานที่หลากหลาย แต่แรงงานแพลตฟอร์มในปัจจุบันที่อยู่ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 กลับเป็นกลุ่มเสี่ยงติดโควิด-19 เนื่องจากต้องปฏิสัมพันธ์กับร้านค้าและลูกค้า ไม่มีสวัสดิการหลักประกันสุขภาพ พร้อมกับรายได้ที่ไม่มั่นคง สิทธิแรงงานที่ขาดอำนาจต่อรอง เพราะเป็นแรงงานนอกระบบ จึงต้องมีแนวทางเพื่อสร้างความมั่นคง ยกระดับคุณภาพชีวิตในการคุ้มครองแรงงาน จัดตั้งสหภาพคนทำงานแพลตฟอร์ม และกองทุนสำหรับช่วยแรงงานแพลตฟอร์ม ซึ่งจะต้องให้ความเป็นธรรมต่อแรงงานรูปแบบใหม่ในยุคดิจิทัล ให้สามารถผ่านวิกฤตโควิด-19 จนเข้าสู่สถานการณ์ที่คลี่คลายให้อยู่ในสถานการณ์ปกติถัดไปที่คงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตของแรงงานบนแพลตฟอร์ม

References

กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). กรณีศึกษาการทำงานของเยาวชนโดยแอปพลิเคชันเรียกรถและบริการส่งอาหาร: ข้อเสนอเพื่อทบทวนนโยบายแรงงานและภารกิจของกระทรวงแรงงาน. รายงานการศึกษาในรายวิชาการศึกษาดูงานด้านนโยบายสาธารณะ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). การบริหารแรงงาน: Gig Economy ตามทัศนมิติแรงงาน. วารสารธรรมศาสตร์. 39(1), 131-158. DOI: 10.14456/tujournal.2020.7.

เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร และวรดุล ตุลารักษ์. (2563). รูปแบบงานใหม่ของคนขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหารที่กำกับโดยแพลตฟอร์ม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ร่วมกับ สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม.

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2564). แรงงานแพลตฟอร์มในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารวิชาการแสงอีสาน. 18(1), 1-10. https://so01.tcithaijo.org/index.php/jsi/article/view/245773.

พรรณวดี เลิศลุมพลีพันธุ์. (2562). แพลตฟอร์ม: เปลี่ยนกลยุทธ์ธุรกิจ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 14(1), 150-157. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/download/230604/156931/775433.

พิชญาพร โพธิ์สง่า. (2564). วิถีไรเดอร์: อาชีพอิสระบนความกดขี่ของแพลตฟอร์ม?. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://theactive.net/data/driver-problems-platform-work-and-the-employment relationship/.

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). อุดช่องโหว่ “แรงงานแพลตฟอร์ม” หนุนสวัสดิการ ดันคุณภาพชีวิต. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://mgronline.com/daily/detail/9630000133991.

ไผท ผดุงถิ่น. (2564). ดิจิทัลสตาร์ทอัพ แพลตฟอร์มสัญาชาติไทย จะฝ่าวิกฤตโควิดไปได้อย่างไร. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://set.or.th/enterprise.

วรยุทธ มูลเสริฐ. (2564). เสียงที่ไม่ได้ยิน: ปัญหา และทางออกของคนงานแพลตฟอร์ม. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://progressivemovement.in.th/article/4199/.

สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2562). การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม: นัยของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับความเหลื่อมล้ำ-บทเรียนจากเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า.

สมประวิณ มันประเสริฐ. (2563). Platform of the People: แพลตฟอร์มดิจิทัลของประชาชนเพื่อการให้บริการสาธารณะ. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://thestandard.co/platform-of-the-people/.

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์. (2564). เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม กับมาตรฐานแรงงาน. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://tdri.or.th/2020/09/social-security-for-digital-platform-workers/.

โสรญา พิกุลหอม. (2561). แรงงานไทยในยุคดิจิทัลแพลตฟอร์ม. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ และเกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2561). แพลตฟอร์มอีโคโนมีและผลกระทบต่อแรงงานในภาคบริการ: กรณีศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ร่วมกับ สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม.

Collier, R. B., V.B. Dubal, and C. Carter (2017). Labor Platforms and Gig Work: the Failure to Regulate. Institute for Research on Labor and Employment, University of California Berkeley, Working Paper #106-107.

Donovan, S.A., Bradley, D.H. & Shimabukuru, J.O. (2016). What does the gig economy mean for workers?. Congressional Research Service. CRS_What_does_the_gig_economy_mean.pdf.

Drahokoupil, J. & A. Piasna (2019). Digital labour in Central and Eastern Europe: Evidence from the etui internet and platform work Survey. ETUI Working Paper. Brussels: ETUI.

Fidler, D. (2016). Work, interrupted the new labour economics of platforms. IFTF Research Report, Palo Alto: Institute for the Future. Accessed from https://workablefutures.org/publications/reports/work-interruptedthe-new-labor-economics-of-platforms/.

Gleim, M.R., Johnson, C.M. and Lawson, S.J., 2019. Sharers and sellers: A multi-group examination of gig economy workers’ perceptions. Journal of Business Research, 98, 142-152. DOI: 10.1016/j.jbusres.2019.01.041.

Joyce, S., Stuart, M., & Forde, C. (2022). Theorizing labour unrest and trade unionism in the platform economy. New Technol Work Employ. 2022, 1–20. DOI: 10.1111/ntwe.12252.

Parwez, S. & Ranjan, R. (2021). The platform economy and the precarisation of food delivery work in the COVID-19 pandemic. Work organization, labour & globalization, 15(1), 11-30. https://www.scienceopen.com/hosted-document?doi=10.13169/workorgalaboglob.15.1.0011.

Stewart, A. & J. Stanford (2017). ‘Regulating work in the gig economy: What are the options?’, The Economic and Labour Relations Review, 28(3),420–437. https://doi.org/10.1177/1035304617722461.

TNN Online. (2565). หลังโควิดธุรกิจฟู้ดเดลิเวอรี่อาเซียนอยู่ยาก. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://www.youtube.com/watch?v=o0uJJzK92tE.

Tripathi, M. A., Tripathi, R., & Yadav, U. S. (2022). Prospects of Impending Digital Platform Economy: Rise of Gig Work. International Journal of Early Childhood Special Education, 14(3), 4879-4887. DOI: 10.9756/INT-JECSE/V14I3.646.

Watts, S. (2020). Digital Platforms: A Brief Introduction. Retrieved April 1, 2021, from https://www.bmc.com/blogs/digital-platforms/.

Waymagazine. (2021). Opportunity or Crisis of Labor Platform and ‘Distance’ between Sweat and Fair. Retrieved August 6, 2021, from https://waymagazine.org/labor-welfare-for platform-labor/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-23