พัฒนาการรูปแบบการซื้อสิทธิ์และขายเสียงในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พินิจ บำรุง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • สัญญา เคณาภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การซื้อสิทธิ์, การเลือกตั้ง, ขายเสียง

บทคัดย่อ

      การเลือกตั้งเป็นหลักการสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยเปิดโอกาสให้ประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยให้มีสิทธิมีเสียงในการปกครองตนเองโดยเลือกตัวแทนเข้าไปทำหน้าที่แทนตน สำหรับประเทศไทยนั่นเป็นที่รู้กันว่าที่ใดมีเลือกตั้งที่นั้นมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียง จะเห็นว่าการซื้อสิทธิ์ขายเสียงเป็นหนึ่งในพฤติกรรมทุจริตการเลือกตั้ง โดยใช้เงิน การเสนอสิ่งตอบแทนในรูปผลประโยชน์ หรือทรัพย์สินต่าง ๆ แลกเปลี่ยนกับการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง อย่างไรก็ตามผลการศึกษาพัฒนาการรูปแบบการซื้อสิทธิ์และขายเสียง ประกอบด้วย (1) การซื้อเสียงในลักษณะของการให้เงิน (2) รูปของการให้คำมั่นสัญญาว่าจะช่วยเหลือ (3) รูปแบบของนโยบายพัฒนาพื้นที่และโครงสร้างพื้นฐาน (4) การซื้อสิทธิ์ในทางนโยบายขายฝัน และ (5) การซื้อสิทธิ์ในเชิงหุ้นส่วนธุรกิจการเมือง

References

กชภพ กรเพชรรัตน์. (2566). จากบทเรียนกรณีทุจริตการเลือกตั้งด้วย ‘ไพ่ไฟ-พลร่ม’ ปี 2500 ถึงการเลือกตั้ง ปี 2566. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566. เข้าถึงได้จาก https://thestandard.co/election-fraud-lesson-2500/.

ก่อพงศ์ สุวรรณจูฑะ. (2560). หลักประชาธิปไตย: ว่าด้วยหลักนิติธรรมในบริบทของศาลยุติธรรมไทย. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566 จาก http://elibrary.constitutionalcourt.or.th/document/read.php?bibid=11794&cat=4&typ=4&file=IS6D_610601.pdf.

จารุวรรณ แก้วมะโน. (2565). การเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขายเสียง กรณีศึกษาการเลือกตั้งท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ: เติมเต็มวงจรการเลือกตั้งโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 20(2).

ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร. (2561). การทุจริตการเลือกตั้ง: อุปสรรคการทำให้เป็นประชาธิปไตยของไทย. วารสารรัฐศาสตร์สุโขทัยธรรมาธิราช, 2(2).

ชาญชัยจิตร เหล่าอาพร. (2561). การทุจริตการเลือกตั้ง: อุปสรรคการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย. วารสารรัฐศาสตร์สุโขทัยธรรมาธิราช. 2(2).

เชษฐา ทองยิ่ง. (2564). การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้น 30 เมษายน 2566 จาก https://parliament museum.go.th/2564/ar64-election-01.html.

ณัชปกร นามเมือง. (2566). ทำไมนโยบายอัดฉีดเงินให้ประชาชน จึงไม่ใช่การซื้อสิทธิขายเสียง. สืบค้นวันที่ 30 เมษายน 2566 จาก https://plus.thairath.co.th/topic/spark/103027.

เดลินิวส์ออนไลน์. (2566). ภาค ปชช. ชำแหละนโยบายขายฝัน. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.dailynews.co.th/articles/2212942/.

ไทยพีบีเอส. (2566). เลือกตั้ง2566: เปิดกลเม็ด “เคล็ดกลโกง” โค้งสุดท้าย. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/327686.

ไทยรัฐออนไลน์. (2557). ธุรกิจการเมืองคือปัญหา. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/441198.

ไทยรัฐออนไลน์. (2566). โพลชี้การเมืองไทยปี 2566 คนกว่า 62% มีแนวโน้มซื้อเสียงเลือกตั้งเพิ่ม. สืบค้น 30 เมษายน 2566 จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2597121.

ธันยพร บัวทอง. (2563). เลือกตั้ง 2562: ซื้อเสียง ไม่ใช่เพียงใช้เงินฟาดก็ชนะ. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-47520169.

นีรนุช เนียมทรัพย์. (2550). บทวิเคราะห์: ซื้อสิทธิขายเสียง: ปัญหาหรือมายาภาพของสังคมไทย?. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2566 จาก https://prachatai.com/node/14740/talk.

ปฐวี โชติอนันต์. (2564). ซื้อ-ขายเสียงในการเลือกตั้งท้องถิ่น. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2566 จาก https://theisaanrecord.co/2021/12/23/buying-votes-in-local-elections/.

ผู้จัดการออนไลน์. (2557). จัดเลี้ยง-ให้เงิน-แจกของ การซื้อเสียงสไตล์อินเดีย ประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566 จาก https://mgroline.com/around/detail/9570000042561.

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). นโยบายขายฝัน: เหยื่อล่อประชาชน. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2566 จาก https://mgronline.com/daily/detail/9660000014124.

พิมพ์นารา อินต๊ะประเสริฐ แพรวพรรณ ศิริเลิศ และอติรุจ ดือเระ. (2566). SDG Policy Focus: เลือกตั้ง 66 นโยบายพรรคไหนตอบโจทย์ SDGs ที่สุด. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.sdgmove.com/2023/05/11/sdg-policy-focus-thailand-election-66/.

ภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา. (2564). การกำหนดนโยบายของพรรคการเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2560. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 6(3).

มติชนออนไลน์. (2566). เศรษฐา ดีเดย์ 1 ม.ค.67 ถ้าเพื่อไทยชนะ ได้ตั้งรัฐบาล เริ่มโอนเงินดิจิทัลได้ทันที. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.matichon.co.th/politics/news_3916132.

รณพงศ์ คำนวณทิพย์. (2554). ตื่นเถิดชาวไทย นโยบายขายฝัน. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2566 จาก https://thaipublica.org/2011/09/dream-policy/.

ราชกิจานุเบกษา. 2560. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. ราชกิจานุเบกษา เล่มที่ 134 ตอนที่ 40ก วันที่ 6 เมษายน 2560

วรลักษณ์ พุ่มพวง และสมเกียรติ วันทะนะ. (2556). บทบาทหัวคะแนนกับการเลือกตั้งในจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 2(2).

วอยซ์ออนไลน์. (2562). ประเทศอื่นจับสัญญาณ 'โกงเลือกตั้ง' กันอย่างไร?. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566 จาก https://voicetv.co.th/read/cLUgkb9en.

วอยซ์ออนไลน์. (2565). ธุรกิจการเมืองกับบทบาทในพรรคการเมือง. สืบค้น 1 9 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.voicetv.co.th/read/58946.

วิกิพีเดีย. (2566). การโกงเลือกตั้ง. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566 จาก https://th.wikipedia.org/wiki.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2557). การซื้อเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต 15(2).

วิชุดา สาธิตพร. (2556). เครือข่ายธุรกิจของนักการเมืองไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 11(2).

วิไลวัจส์ กฤษณะภูติ. (2557). แนวทางการป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้งตามความคิดเห็นของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, 1(2).

สมจิตต์ รัตนอุดมโชค. (2552). การซื้อสิทธิขายเสียง ในจังหวัดสกลนคร. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 1(2).

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2557). การซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้งของไทยเป็นความผิดของใคร. สืบค้น 30 เมษายน 2566 จาก https://web.facebook.com/Prof.SombatThamrongthanyawong/posts/864505393590453/?locale=th_TH.

สยามรัฐออนไลน์. (2566). จุดจบนโยบายขายฝัน. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2566 จาก https://siamrath.co.th/c/439295.

สุดาวรรณ ประชุมแดง และคณะ. (2563). การขัดกันของผลประโยชน์ของกลุ่มธุรกิจการเมืองไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(6).

สุนทรี ทับมาโนช. (2562). ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา เตือนซื้อสิทธิขายเสียงมีโทษตามกฎหมาย เลือกตั้ง ส.ส. 2562. สืบค้น 30เมษายน 2566 จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG190317082411748.

สุภี นะที และสุริยะ ประภายสาธก. (2564). การตัดสินใจในการเลือกตั้งของประชาชนแขวงบ้านพานถมเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(10).

โอฬาร ถิ่นบางเตียว และนครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2566). การซื้อสิทธิ์ขายเสียง. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2566 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-23

How to Cite

บำรุง พ. ., & เคณาภูมิ ส. (2024). พัฒนาการรูปแบบการซื้อสิทธิ์และขายเสียงในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4(1), 85–102. สืบค้น จาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/JMSSNRU/article/view/1976